Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อส , then อศ, อส .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อส, 83 found, display 1-50
  1. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  2. อสขตอสงฺขต : (วิ.) อันปัจจัยไม่ปรุงแต่งแล้ว, อันปัจจัยไม่ตกแต่งแล้ว, อันปัจจัยปรุงแต่งไม่ได้แล้ว, ไม่ปรุงแต่งแล้ว, ฯลฯ, ไม่ปรุงแต่ง, ฯลฯ.
  3. อสทน : ปน., ค. ความไม่อดทน, ความไม่อดกลั้น ; ไม่มีความเพียร
  4. อสทานธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เสื่อม, สภาพที่ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
  5. อสพล : ค. ไม่มีจุด, ไม่ด่างพร้อย
  6. อสเมกฺขการี : ป. ผู้รีบเร่ง
  7. อสโมทาน : นป. การไม่ประชุมกัน, การไม่รวมกัน
  8. อสยุตฺต : ค. ไม่ผูก, ไม่ประกอบ
  9. อสวต : ค. ไม่จำกัด, ไม่กำหนดลงอย่างแน่นอน
  10. อสวร : ป. การไม่สังวร, การไม่ระวัง
  11. อสวาส : ค. ไม่มีสังวาส, มีสังวาสอันไม่เสมอกัน
  12. อสวินฺท : ค. ไม่ประสบอยู่, ไม่รู้อยู่
  13. อสวุต : ค. ไม่สังวร, ไม่ระวัง
  14. อสสฏฺฐ : ค. ไม่เกี่ยวข้อง, ไม่ระคน, ไม่ส้องเสพ
  15. อสสย : (วิ.) ไม่สงสัย, เที่ยงแท้, แน่นอน.
  16. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  17. อสหรติ : ก. ไม่ย้ายไป, ไม่ขนไป
  18. อสหาริก, - ริย : ค. พรากไปไม่ได้, ไม่อาจถือไปได้
  19. อสหาริม : (วิ.) อัน...นำไปไม่ได้, นำไปไม่ได้.
  20. อสหาริมธน : (นปุ.) ทรัพย์อัน...นำไปไม่ได้, ทรัพย์เคลื่อนที่ไม่ได้, อสังหาริมทรัพย์โดยตรงได้แก่แผ่นดิน โดยอ้อมนับของที่เนื่องด้วยแผ่นดินด้วย.
  21. อสหิร : (วิ.) ไม่คลอนแคลน, ไม่ง่อนแง่น, มั่นคง
  22. อสหีร : ค. ซึ่งไม่หวั่นไหว, ไม่ง่อนแง่น
  23. อิส : (ปุ.) อิสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส, รสฺโส, สฺโลโป. เป็น อิสฺส โดยไม่ลบ สฺ ก็มี.
  24. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  25. อิสุ : (ปุ. อิต.) ศร, ลูกศร. อีสฺ หึสายํ, อุ. รัสสะ.
  26. อุส : (ปุ.) ความเร่าร้อน. อุสฺ ทาเห, อ.
  27. อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
  28. อส : (ปุ.) แผ่นดิน. อูสฺ ราชายํ. โณ. สีหฬ เป็น อูส. ความสว่าง, ความรุ่งเรือง, ความร้อน, ไฟ. อุสฺ ทาเห, โณ.
  29. อส : (ปุ.) กระบี่, ดาบ.วิ.อสฺสเตขิปิยเตติอสอสุ เขปเน, อิ. อถวา, อาปุพฺโพ, สีเฉทเน, อิ, รสฺโส.ส.อสิ.
  30. อส : (ปุ.) ชีวิต, ลมหายใจ. อสติ เยนาติ อสุ. อสฺปาณเน, อุ. อสติ ปวตฺตติ สตฺโต เอเตนาติวา อสุ.อสุ เขปเน, อุ. รูปฯ๖๓๕ ลงณุปัจ.ไม่ทีฆะ. ทีฆะ เป็นอาสุ บ้าง. ส. อสุ.
  31. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  32. อุสุ : ป., อิต. ธนู, ศร
  33. อส : (ปุ.) การแสวงหา, การค้นหา, ความแสวงหา, ฯลฯ. เอส มคฺคเน, อ, ยุ.
  34. อส : ป. ดู อสินี
  35. เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
  36. มหาสน : (นปุ.) แปลเหมือน มหานส. มหนฺต+อส. ธาตุ ในความกิน ยุ ปัจ.
  37. สายมาส : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น, ภัตอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น. สายํ+อส แปลง นิคคหิตเป็น ม อ+อ เป็น อา.
  38. เอกาสี : (ปุ.) บุคคลผู้บริโภคผู้เดียว, คนมีปกติ บริโภคผู้เดียว, คนบริโภคผู้เดียวเป็นปกติ, คนกินคนเดียว. เอก+อส+ณีปัจ.
  39. กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
  40. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  41. กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
  42. กุณปาส : (ปุ.) กุณปาสะ ชื่อเปรตผู้เคี้ยวกิน ซากศพ วิ. กุณปํ อสตีติ กุณปาโส. กุณปปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, อ. กุณาล
  43. คิชฺฌ : (ปุ.) แร้ง ชื่อนกชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่มาก หัวแดงเป็นส่วนมากชอบกินสัตว์ที่ตายแล้ว วิ. เคธตีติ คิชฺโฌ. คิธฺ อภิกํขายํ, โย, ธฺยสฺส โฌ, อสรูปทฺวิตฺตํ, ฌปจฺจโย วา, ธสฺส โช.
  44. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  45. ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
  46. ธนิฏฺฐา : (อิต.) ธนิฏฐา ธนิษฐา ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๒๓ มี ๔ ดวง, ดาวกา, ดาวไซ, ดาวศรวิษฐาก็เรียก. วิ. ธนํ เอสนฺติเอตฺถาติ ธนิฏฺฐา. เอสฺ มคฺคเน, โต, ตสฺส ฏฺโฐ, เอสฺส อตฺตํ. ธนติ วา วิภูติ นิธานํ ธนิฏฺฐา. ฏีกาอภิฯ ส. ธนิษฺฐา.
  47. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  48. มเหสี : (ปุ.) มเหสี พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ วิ. มหนฺเต สีลกฺขนฺธาทิเก เอสตีติ มเหสี. มหนฺตปุพฺโพ, เอสฺ คเวสเน, อี.
  49. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  50. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  51. [1-50] | 51-83

(0.0251 sec)