อร : (ปุ. นปุ.) ดอกบัว, ซี่, ซี่จักร, กำ (ซี่ของล้อรถหรือเกวียน), ส่วนเวลา, เครื่องเล่น.อรฺคติยํ, อ.ส.อร.
กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
กิญฺจิ : (อัพ. นิบาต) น้อย, น้อยหนึ่ง, อันหนึ่ง, อะไร ๆ. ลงในอรรถ อปฺป อนุคฺคห ครห.
กจฺจิ นุ : (อัพ. นิบาต) บ้าง, อย่างไร, อย่างไร สิ, ใช่หรือ, หรือหนอ, อะไร.
กตม กตร : (วิ.) ไหน, คนไหน, เป็นไฉน, อะไร. ส. กตม กตร.
กรตโร : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, แต่...อะไร.
กึ สุ : (อัพ. นิบาต) อะไรสิ, อย่างไรสิ, มิใช่ หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร.
สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
อเร : (อัพ. นิบาต) เว้ย, โว้ย, แน่ะคนอะไร, แน่ะคนร้าย, แน่ะหญิงร้าย, พ่อเฮ้ย.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
กตรปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอะไร.
กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
กมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, ทำไม
กาม : (อัพ. นิบาต) ก็ตาม, ก็ตามที, ส่วนเดียว, โดยส่วนเดียว, แท้, โดยแท้, ผิว่า, แม้, บ้าง.
กินฺนุ : (อัพ. นิบาต) อะไรหนอ, อะไรหรือ.
กิปุริส กิมฺปุริส :
(ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
กิมตฺถ : ก. วิ. เพื่อประโยชน์อะไร, เพื่ออะไร
กีทิส : ค. เช่นไร? อย่างไร? เหมือนอะไร?
กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
กึการณ : (นปุ.) เหตุอะไร.
กึการณา, กิงฺการณา : ปัญ. เพราะเหตุอะไร, เพราะอะไรเป็นเหตุ
กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
กึนาม : ค. ชื่ออะไร, มีชื่อว่าอย่างไร
กึ นาม, กึ นุ : (อัพ. นิบาต) ชื่ออะไร,อะไรหนอ.
กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
กึปุริส : ป. คนอะไร, คนเผ่าไหน; คนป่า; กินนร
กึภิญฺญ : ค. มีชื่อว่าอะไร
กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
กึสีล : ค. ผู้มีอะไรเป็นปกติ, ผู้มีอุปนิสัยอย่างไร
กึสุอธิปติ : (วิ.) เป็นใหญ่ยิ่งแห่งอะไรสิ.
กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
กึอตฺถิย : ค. มีความต้องการอะไร
ขิล, ขิฬ : นป. ความด้าน, ความกระด้าง; ที่ซึ่งปลูกอะไรไม่ขึ้น
จรหิ : อ. ก็, แลหรือ, เล่า, อะไรเล่า
จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
มโนธมฺม : (ปุ.) ธรรมของใจ, ธรรมสำหรับใจ, ใจมีธรรม คือมีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ.
มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.