Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อักษรศาสตรบัณฑิต, บัณฑิต, อักษร, ศาสตร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อักษรศาสตรบัณฑิต, 106 found, display 1-50
  1. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  2. ณฏฐ : (ปุ.) ชนผู้ตั้งอยู่ในความรู้, นักปราชญ์, บัณฑิต, ณัฏฐ์, ณัฐ. วิ. ญาณสฺมึ ฐิโตติ ณฏฺโฐ ญาณ+ฐ+ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  3. ปณฺฑิต : ค., ป. ฉลาด; บัณฑิต, คนฉลาด
  4. เลขน : นป. การเขียน; อักษร, สิ่งที่เขียน
  5. อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
  6. กณฺฐช : ค. เกิดแต่ลำคอ, (อักษร) ที่มีฐานกรณ์เกิดจากคอ
  7. ชมฺพุก : (ปุ.) หมาจิ้งจอก. ชมุ อทเน, ณฺวุ. ลง พ อักษร ที่สุดธาตุและแปลง อ เป็น อุ. ส. ชมฺพุก, ชมฺพูก.
  8. ทพฺพ. : (ปุ.) บุคคลผู้ควรหลุดพ้น, บุคคลผู้ควรบรรลุมรรคผล. บัณฑิต. ทุ วุฒิยํ, อพฺโพ.
  9. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  10. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  11. ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
  12. ภาณวาร : ป. ข้อธรรมที่จัดไว้สำหรับสวด, หมวดหนึ่งมี ๘,๐๐๐ อักษร
  13. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  14. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  15. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  16. กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
  17. กปณ : (วิ.) ผู้มีฝ่ามืออันบัณฑิตเกลียด, ผู้มีฝ่า มือน่าเกลียด, ตระหนี่. กุจิฉิต+ปณ ลบ จฺฉิต.
  18. กปฺปฏ : (ปุ.) ผ้าอันบัณฑิตเกลียด, ผ้าเปื้อน, ผ้าขี้ริ้ว. วิ. กุจฺฉิโต ปโฏ กปฺปโฏ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กา รัสสะ ซ้อน ปฺ หรือ ตั้ง กปฺปฺ ธาติในความตรึก อฏปัจ.
  19. การนฺต : (ปุ.) ที่สุดแห่งอักษร, อักษรตัวที่สุด, อักษรตัวหลัง (ของศัพท์), ไทย การันต์ หมายถึงอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ “ ์“ กำกับไว้.
  20. กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
  21. กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
  22. กุชฺชล : (ปุ.) คนอันธพาล (ผู้รุ่งเรืองที่บัณฑิต ติเตียน), ต้นอัญชัน (รุ่งเรืองในแผ่นดิน).
  23. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  24. กุมติ : (อิต.) ความรู้อันบัณฑิตเกลียด. กุจฺฉิต+มติ.
  25. กุมตี : (ปุ.) คนพาล (ผู้มีความรู้อันบัณฑิตเกลียด) อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  26. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  27. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  28. ขทิรงฺคชาตก : (นปุ.) ชาดกอันบัณฑิตกำหนด แล้วด้วยถ่านแห่งไม้ตะเคียน.
  29. ขนฺติพล : (วิ.) ผู้มีกำลังอันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่าขันติ วิ. ขนฺติสํขาตํ พลํ อสฺส อตฺถีติ ขนฺติพโล. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  30. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  31. คารยฺหวจ : (ปุ.) คนพูดคำอันบัณฑิตพึงติเตียน, คนพูดเหลวไหล.
  32. คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
  33. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  34. จิณฺห : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เป้า, รอย, ตรา, แกงได. วิ. จิหียติ อเนนาติ จิณฺหํ. จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. แปลน น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ แล้วกลับอักษร ที่ไม่ กลับเป็น จิหณ ดู จิหณ.
  35. จิตฺตกฺขร : ค. มีอักขระอันวิจิตร, มีอักษรสวยงาม
  36. จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
  37. ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
  38. ชมฺภ ชมฺภีร ชมฺภุล : (ปุ.) มะนาว, ต้นมะนาว, ส้ม, ต้นส้ม. ชมุ อทเน, ภนฺโต (ลง ภ อักษรที่สุดธาตุ), อ, อีโร, อุโล. ชมฺภฺ คตฺตวิมาเน. ส. ชมฺพีร ชมฺภีร แปลว่า มะกรูดด้วย.
  39. ชิณฺณพฺยาธิมตสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับ พร้อมแล้วว่าชนผู้แก่แล้วและชนผู้เป็น พยาธิและชนผู้ตายแล้ว.
  40. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  41. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  42. ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
  43. ตลสตฺติกสิกฺขาปท : (นปุ.) สิกขาบทอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยอันเงือดเงื้อซึ่ง หอกคือฝ่ามือ.
  44. ตาลุช : (ปุ. นปุ.) อักษรเกิดจาดเพดานปาก.
  45. ตุฏฺฐปณฺฑิต : (ปุ.) ดุษฏีบัณฑิต เป็นคำเรียก ผู้ที่สอบได้ปริญญาเอกของสถานที่ศึกษา ชั้นอุดมศึกษา. ส. ตุษฺฏิปณฺฑิต.
  46. เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
  47. เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
  48. เถยฺยสงฺขาต : อ. โดยอาการอันบัณฑิตกล่าวแล้วว่า การขโมย, โดยอาการขโมย
  49. ทณฺฑฆาต : (ปุ.) การฆ่าด้วยอาชญา, ทัณฑฆาตชื่อเครื่องหมายสำหรับฆ่าอักษร ทำให้ไม่ต้องออกเสียงอักษรตัวนั้น มีรูป ดังนี้ ์
  50. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-106

(0.0276 sec)