อฏฺฐ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, นปุพฺโพ.ฐา คตินิวุตติยํ, อ, ฏฺสํโยโค.
อฏฺฐมี : อิต. อัฏฐมี, ดิถีที่ ๘, ขึ้น – แรม ๘ ค่ำ
โกฏฺฐาสย : (ปุ.) โกฏฐาสยะ ชื่อลมในกาย อย่างที่ ๔ ใน ๖ อย่าง, ลมในไส้. วิ. โกฏฺเฐ อนฺเตเสติ ติฏฺฐตีติ โกฏฺฐาสโย. โกฏฺฐปุพฺโพ, สี สเย, อ. อัฏฐกถาแก้เป็น อนฺโตวาต.
ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
อฏฺฐก : (วิ.) แปด.กสกัด, มีปริมาณแปดวิ. อฏฺฐ ปริมาณานิ อสฺสาติ อฏฺฐกํ.กปัจสังขยาตัท.
อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
อฏฺฐกถาจริย : ป. พระอรรถกถาจารย์
อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์(สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู.อาปุพฺโพ, ถรฺสนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
อฏฺฐวีสติ : (อิต.) ยี่สิบแปด.
อฏฺฐส : ค. แปดเหลี่ยม, แปดมุม
อฏฺฐม, อฏฺฐมก : ค. ที่แปด, อันดับที่แปด.
อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
อฏฺฐิ , อฏฺฐิก : นป. ๑. กระดูก,
๒. เมล็ดในผลไม้,
๓. หิน
อิฏฺฐ : (นปุ.) ความพอใจ, ฯลฯ, อิฏฐารมณ์.
อิฏฺฐ : ๑. นป., ความอยาก, ความชอบใจ, ความสวยงาม, อารมณ์ที่น่าชอบใจ;
๒. ค. ยินดี, พอใจ, น่ารัก, น่าใคร่, สวยงาม
อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
เอฏฐิ : อิต. ความอยาก, ตัณหา, การแสวงหา
โอฏฐ : ป. ๑. ริมฝีปาก;
๒. อูฐ
โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
อฏฺฐม : (วิ.) ที่แปด. อฏฺฐ+ม ปัจ. ปูรณตัท. อษฺฏม.
อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
อฏฺฐม : (วิ.) ที่แปด.อฏฺฐ+ม ปัจ.ปูรณตัท.อษฺฏม.
อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบแปด.อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตรแปลงทเป็นรฑีฆะ.
เมธิย เมธิฏฺฐ : (วิ.) ผู้มีปัญญากว่า, ผู้มีปัญญาที่สุด. เมธิมนฺตุ+อิย, อิฏฺฐ ปัจ.
อิฏฺฐคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นอัน...พีงใจแล้ว, มีกลิ่น... อันพีงใจ, ฯลฯ. วิ. อิฏฺโฐ คนฺโธ อสฺสาตฺถีติ อิฏฺฐคนฺโธ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.