Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อัตตะ , then อตต, อตฺต, อัตตะ, อัตตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อัตตะ, 84 found, display 1-50
  1. อตฺต : (วิ.) ซัด, พุ่ง, ยิ่ง. อสุ เขปเน, โต.
  2. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  3. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  4. สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
  5. อลมตฺต : (วิ.) สามารถ, อลํศัพท์ ลง อตฺต สกัด.
  6. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  7. อตฺตคุตฺต : ค. ผู้คุ้มครองตน, ผู้มีตนอันคุ้มครองแล้ว
  8. อตฺตคุตฺติ : อิต. การรักษาตน, การระวังตน
  9. อตฺตทนฺต : ค. ผู้ฝึกฝนตนเองแล้ว
  10. อตฺตทีป : ค. พึ่งตนเอง, เชื่อตนเอง
  11. อตฺตโนปท : (นปุ.) บทเพื่อตน. ฉ. ตัป.
  12. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  13. อตฺตปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะตน, การมีตัวตน
  14. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  15. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  16. อตฺตวาทุปาทาน : (วิ.) ผู้ถือมั่นในวาทะว่ามีตัวตน.
  17. อตฺตวินิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือวิเศษซึ่งตน, การยังตนให้ตกไป, การทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย.
  18. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  19. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  20. อตฺตสมฺภูต : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วในตน, เกิดขึ้นในตน, เกิดในตน.
  21. อตฺตหิต : (นปุ.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  22. อตฺตหิตา : (อิต.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  23. อตฺตเหตุ : (วิ.) มีตนเป็นเหตุ.
  24. อตติ : ก. ย่อมไป, - ถึง
  25. อตีต : (ปุ.) กาลอันเป็นไปล่วงแล้ว, อดีตกาลอติปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. วิ. อตีโต กาโลอตีโต.ลบกาล.
  26. อวตต (โอตต) : กิต. แผ่ไปแล้ว, ปกคลุมแล้ว
  27. อุตฺต : ๑. ป. การกล่าว, การเปล่งออกมา; ๒. กิต. กล่าวแล้ว
  28. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  29. เอตฺต : ก. วิ. ที่นั่น, ที่นี่
  30. เอตโต : (อัพ. นิบาต) ข้างนั่น, ข้างนั้น.
  31. เอตฺโต : ก. วิ. จากนี้, ตั้งแต่นี้ไป
  32. โอตต : กิต. ปกคลุมแล้ว
  33. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  34. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  35. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  36. อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
  37. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  38. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  39. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  40. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  41. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  42. กย : (ปุ.) การซื้อ วิ. ก ยนํ กโย. กี ทพฺพวินิมเย, อ. กโย นาม ปรสฺส ธนํ คเหตฺวา อตฺตโน ธนสฺส ทานํ. การถือเอาสมบัติของคนอื่นแล้วให้ซึ่งทรัพย์ของตน ชื่อว่า การซื้อ.
  43. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  44. กึกิณิ กึกิณี : (อิต.) พรวน, ลูกพรวน, ดุม, ลูกดุม. วิ. กึ กุจฺฉิตํ กณตีติ กึกิณิ กึกิณี วา. กณฺ สทฺเท, อิ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ, นิคฺคหิ- ตาคโม. เป็น กึกณิ บ้าง. ส. กึกณิ.
  45. กุลาล : (ปุ.) ช่างหม้อ วิ. กุ ลลยตีติ กุลาโล. กุปุพฺโพ, ลลฺ อิจฺฉายํ, โณ. กุลติ อตฺตโน สิปฺปํ ปตฺถรตีติ วา กุลาโล. กุลฺ สนฺตาเน, อาโล. ส. กุลาล.
  46. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  47. โกลิต : (ปุ.) โกลิตะ ชื่อเดิมของพระโมคคัล- ลานะ วิ. กุเล ชายตีติ โกลิโก. โส เอว โกลิโต. อตฺตโน คุณํ กูลตีติ วา โกลิโต. กุลฺ ปตฺถรเณ, อิโต.
  48. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  49. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  50. ตชฺชารี : (อิต.) ตัชชารี ชื่อมาตรา นับเท่ากับ ๓๖ อณู. วิ. อณโว ฉตฺตึส ตชฺชารี นาม. ตํ ตํ อตฺตโน นิสฺสยํ มลินกรณวเสน ชราเปตีติ ตชฺชารี ชรฺ วโยหานิมฺหิ. ณี.
  51. [1-50] | 51-84

(0.0770 sec)