Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อัป , then อป, อปฺ, อับ, อัป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อัป, 159 found, display 1-50
  1. อป : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ, ปราศจาก, ไปจาก, หนี, หลีก, ไกล, พ้น, ไร้, กลับ, ลง, นินทา.ส.อป.
  2. อปมงฺคล : (วิ.) มีมงคลไปปราศแล้ว, ปราศจากมงคล, ไม่มีมงคล, ไม่เป็นมงคล, อัป-มงคล (เป็นลางร้าย ไม่เจริญ ไม่เจริญตา).ส.อปมงฺคล
  3. อปฺปิย : (วิ.) มิใช่บุคคลอันบุคคลพึงรัก, มิใช่ผู้อันบุคคลพึงรัก, มิใช่สัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก, มิใช่เป็นที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ชั่วช้า, ต่ำช้า, อัปรย์ (ไม่น่ารัก น่าเกลียด)ส. อปฺริย.
  4. อปฺปมาณธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอัปปมาณคือมรรคและผลของมรรคที่เป็นโลกุตระและอสังขตธาตุไตร. ๒๓/๖๒๗.
  5. อปฺปมาณสุภ : (ปุ.) อัปปมาณสุภะชื่อภพของรูปพรหมชั้นที่ ๘ ชื่อพรหมผู้เกิดในภพนั้น
  6. อปฺปมาณาภ : (ปุ.) อัปปมาณาภะชื่อภพของรูปพรหมชั้นที่ ๕ชื่อพรหมผู้เกิดในภพนั้น.
  7. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  8. อปฺปณิหิต : (ปุ.) อัปปณิหิตะชื่อวิโมกข์อย่างหนึ่ง.
  9. อปฺปณิหิตวิโมกฺข : ป. ความพ้นเพราะไม่มีกิเลสเป็นที่ตั้ง, อัปปณิหิตวิโมกข์
  10. อปฺปปญฺจ (อปฺปญฺจ) : ป. อัปปปัญจธรรม, ความไม่เนิ่นช้า
  11. อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
  12. อลกฺขิก : (ปุ.) คนเลว, คนต่ำ, คนไม่ดี, คนอัป-ปรีย์, คนไม่มีสิริเป็นเครื่องหมาย, คนไม่มีบุญ.
  13. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  14. อุปจารสมาธิ : (ปุ.) สมาธิเฉียด, อุปจารสมาธิ คือสมาธิยังไม่แน่วแน่ ยังไม่ดิ่งเป็นอัปปนา เป็นแต่จวน ๆ.
  15. เอกคฺคตา : (อิต.) ความเป็นแห่งจิตมีอารมณ์ เดียว, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต แน่วแน่อยู่ในอารมณ์เดียว, ความที่แห่งจิต เป็นจิตมีอารมณ์เดียว (ไม่ฟุ้งซ่าน), ฯลฯ, สมาธิ, อัปปนาสมาธิ.
  16. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  17. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  18. อปคา : (อิต.) แม่น้ำ, ลำน้ำ (ทางน้ำที่ใหญ่ยาว)ส. อปคา.
  19. อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
  20. อปฺปฏิวานี (ณี) : อิต. ดู อปฺปฏิวานิตา
  21. อปฺปมาณ : (วิ.) นับไม่ได้, ประมาณไม่ได้, ไม่เป็นประมาณ, ประเสริฐเลิศล้น, ประเสริฐที่สุด, อประมาณอัประมาณ (กำหนดไม่ได้จำกัดไม่ได้ไม่มีที่สุด).ส. อปฺรมาณ.
  22. อปฺปมาท : (ปุ.) ความไม่เลินเล่อ, ความไม่มืดมน, ความไม่มึนเมา, ความเอาใจใส่, ความระวัง, ความไม่ประมาท.ส. อปฺรมาท.
  23. อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
  24. อปโลกิต : (นปุ.) อปโลกิตะ ชื่อของพระนิพพานพระนิพพาน.วิ.นปลุชฺชนภาวํคจฺฉตีติอปโลกิตํ.
  25. อปวิฏฺฐ : กิต. ดู อปวิทฺธ
  26. อปคม : ป. การหนีไป, การไปปราศ
  27. อปจายก, อปจายิก, อปจายี : ค. ผู้นอบน้อม, ผู้เคารพนับถือ
  28. อปจายติ : ก. เคารพ, ยำเกรง, นับถือ
  29. อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
  30. อปจายี : (วิ.) ผู้ยำเกรง, ผู้เคราพ, ผู้นับถือ, ผู้บูชา.
  31. อปจาร : ป. ความเสื่อม, โทษ, การกระทำผิด
  32. อปจิต : กิต. เคารพ,นอบน้อม
  33. อปจินน : นป. ความพินาศ, ความเสื่อม
  34. อปจินาติ : ก. เคารพ, บูชา, สังเกต, เฝ้าดู, ทำลาย, ขจัด
  35. อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
  36. อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
  37. อปธารณ : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การบัง.อปปุพฺโพ, ธรฺธารฺวาธารเณ, ยุ.
  38. อปเนติ : ก. นำไปปราศ, นำออก, เปลื้องออก
  39. อปฺปก : (วิ.) มีประมาณน้อย, ฯลฯ.
  40. อปฺปกสิเรน : ก. วิ. ด้วยความลำบากเล็กน้อย, ไม่สู้จะลำบาก
  41. อปฺปการ : ค. ลักษณะที่ผิดปกติ, ลักษณะที่น่าเกลียด
  42. อปฺปกิจฺจ : ค. มีกิจนิดหน่อย
  43. อปฺปงฺก : (ปุ.) หางตา, ลายเขียน.
  44. อปฺปฏิกฺขิปฺป : ค. ไม่ถูกปฏิเสธ
  45. อปฺปฏิการิก : ค. ไม่ตอบแทน, ไม่สนองบุญคุณผู้อื่น
  46. อปฺปฏิกุล : ค. ไม่ปฏิกูล, ไม่น่าเกลียด
  47. อปฺปฏิโกปยนฺต : ค. ไม่ถูกเบียดเบียน, ไม่ถูกทำให้กำเริบ
  48. อปฺปฏิคนฺธิก, - คนฺธิย : ค. ไม่มีกลิ่นเหม็น, มีกลิ่นหอม
  49. อปฺปฏิฆ : (วิ.) ไม่มีปฏิฆะ, ไม่กระทบกระทั่ง, ไม่ระคายใจ.
  50. อปฺปฏิจฺจ : ค. ไม่มีเหตุ, ไม่อาศัยเหตุ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-159

(0.0691 sec)