อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
อสฺสาณีกอสฺสานึก : (ปุ.) อัสสาณีกะ, อัสสานี-กะ, ม้าตัวหนึ่งมีคนสำหรับม้าสามคนชื่ออัสสาณีกะ, กองพลม้า.เป็นอสฺสาณิกอสฺสานิกบ้าง.ส.อศฺวานีก.
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
อสฺสกณฺณ : (ปุ.) อัสสกัณณะชื่อภูเขาลูก๑ใน๗ลูกเป็นลูกที่๗ทั้ง๗ลูกนี้ล้อมเขาสุเมรุจึงเรียกว่า สัตตปริภัณฑ์.
ปญฺจวคฺคิย : ค. มีพวกห้า หมายถึงภิกษุห้ารูปเหล่านี้คือ อัญญาโกณฑัญญะ, วัปปะ, ภัททิยะ, มหานามะ, อัสสชิ
อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
อสฺสตฺถ : (ปุ.) อัสสัตถพฤกษ์พระมหาบุรุษทรงประทับบนบัลลังก์ซึ่งตั้งอยู่โคนต้นไม้นี้บำ-เพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้.อมฺหากํภควโตโพธิรุกฺโข.แปลว่าต้นไม้ที่ม้าต้องการ, ต้นไม้ที่ม้าชอบบ้าง.อสฺส+อตฺถ.
อสฺสเมธ : (ปุ.) อัสสเมธะชื่อมหายาคะอย่าง๑ใน๕อย่าง.วิ. อสฺสํเอตฺถเมธนฺตีติอสฺสเมโธ. อสฺสปุพฺโพ, เมธฺหึสายํ, อ.
อสฺสยุช : (ปุ.) อัสสยุชะชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๑ ใน๒๗ กลุ่มมี๗ ดวงอภิฯ ว่ามี ๓ ดวง, ดาวม้า. อสฺส รูปโยคโต อสฺสยุโช. ส.อศฺวยุชอสฺวินี.
อสุสชิ : (ปุ.) พระอัสสชิชื่อพระเบญจวรรคีย์องค์ที่ ๕.
กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
กุณปาส : (ปุ.) กุณปาสะ ชื่อเปรตผู้เคี้ยวกิน ซากศพ วิ. กุณปํ อสตีติ กุณปาโส. กุณปปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, อ. กุณาล
ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
ทุสฺส : (นปุ.) ผ้า ( สิ่งที่ทำด้วยเยื่อไม้ ท.) วิ. ทุรูปํ อสตีติ ทุสฺสํ ทุรูปปุพฺโพ. อสฺ เขปเน, โส. ทุรูปํ อสตีติ วา ทุสฺสํ. อสฺ ทิตฺติยํ, โส. หรือ ลง อ ปัจ. ซ้อน สฺ หรือ ทุ คมเน. ส ปัจ. แปลงเป็น สฺส. อภิฯ และฎีกา.
สุธาสี : (ปุ.) เทวดา (ผู้กินอาหารทิพย์) วิ. สุธา อสนฺติ สีเลนาติ สุธาสิโน. อสฺ โภชเน, ณี.
หุตาส : (ปุ.) หุตาสะ ชื่อไฟชื่อที่ ๑๘ ใน ๑๘ ชื่อ, ไฟ. วิ หุตํ หวึ อสตีติ หุตาโส. อสฺ โภชเน, โณ. หุตํ อสนํ อสฺสาติ วา. หุตาโส.
อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
อาสุ : (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ด่วน. วิ. อสติ สีฆภาเวน ปวตฺตตีติ อาสุ. อสฺ คติยํ, ณุ. ส. อาศุ.
อสขตอสงฺขต : (วิ.) อันปัจจัยไม่ปรุงแต่งแล้ว, อันปัจจัยไม่ตกแต่งแล้ว, อันปัจจัยปรุงแต่งไม่ได้แล้ว, ไม่ปรุงแต่งแล้ว, ฯลฯ, ไม่ปรุงแต่ง, ฯลฯ.
อสทน : ปน., ค. ความไม่อดทน, ความไม่อดกลั้น ; ไม่มีความเพียร
อสทานธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เสื่อม, สภาพที่ไม่เสื่อมเป็นธรรมดา
อสฺนาติ : ก. กิน, รับประทาน
อสพล : ค. ไม่มีจุด, ไม่ด่างพร้อย
อสฺมสารอสล : (ปุ.) เหล็ก.ศัพท์หลังอสุพฺยาปเน, อโล.
อสฺมิ : ก. (ฉัน) เป็น, มี
อสเมกฺขการี : ป. ผู้รีบเร่ง
อสโมทาน : นป. การไม่ประชุมกัน, การไม่รวมกัน
อสยุตฺต : ค. ไม่ผูก, ไม่ประกอบ
อสวต : ค. ไม่จำกัด, ไม่กำหนดลงอย่างแน่นอน
อสวร : ป. การไม่สังวร, การไม่ระวัง
อสวาส : ค. ไม่มีสังวาส, มีสังวาสอันไม่เสมอกัน
อสวินฺท : ค. ไม่ประสบอยู่, ไม่รู้อยู่
อสวุต : ค. ไม่สังวร, ไม่ระวัง
อสฺสโคปก : ป. คนเลี้ยงม้า, คนดูแลม้า, อัศวรักษ์
อสฺสโคปกอสฺสโปสก : (ปุ.) คนเลี้ยงม้า.
อสสฏฺฐ : ค. ไม่เกี่ยวข้อง, ไม่ระคน, ไม่ส้องเสพ
อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
อสฺสมณ : ป. มิใช่สมณะ, ไม่ใช่ผู้สงบ
อสฺสมณฺฑล : (นปุ.) สนามม้า.
อสฺสมปท : (นปุ.) สถานที่เป็นที่ไปของบุคคลผู้ระงับความโกรธ, ฯลฯ, อาศรมบท.
อสฺสมารก : (ปุ.) ต้นยี่โถ.วิ.อสฺเสมาเรตีติอสฺสมารโก.อสฺสปุพฺโพ, มรฺปาณจาเค, ณฺวุ.ต้นพุด ?
อสฺสมุขี : (อิต.) ยักษิณีมีหน้าเหมือนม้า, ยักษิณีหน้าม้า.
อสสย : (วิ.) ไม่สงสัย, เที่ยงแท้, แน่นอน.
อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
อสฺสลกฺขณ : นป. ลักษณะม้า, การทายลักษณะม้า