นาวา : อิต. เรือ
อากาส : (ปุ.) ช่องว่าง, ช่องว่างมีในกาย, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า (ไถไม่ได้ ไม่อาจไถ เขียนไม่ได้), วิ. นกสฺสตีติอากาโส.กสิตุวิเลขิตุนสกฺโกตีติอตฺโถ.ภูสํกาสนฺเตทิปฺ-ปนฺเตปทตฺถาเอเตนาติวาอากาโส.อา-ปุพฺโพ, กสฺวิเลขเน, โณ.ส.อากาศ.
คคน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไปแห่งนก, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า. วิ. คจฺฉานฺเตตฺถ วิหงฺคมาทโยติ คคนํ. คมฺ คติยํ, ยุ, มสฺส โค. เมฆ พระอาทิตย์? เป็น คคณ บ้าง.
ตาราปถ : (ปุ.) ทางแห่งดวงดาว, ทางดาว, กลาง หาว, อากาศ, ท้องฟ้า. วิ. ตารา วุจฺจนฺติ นกฺขตฺตาทโย, ตาสํ ปโถติ ตาราปโถ.
ทิว : (ปุ.) ทิวะ ชื่อสวรรค์ชื่อที่ ๒ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์, เทวโลก, ฟ้า, ชั้นฟ้า, อากาศ, วัน. ทิวุ กีฬายํ, อ. ส. ทิว, ทิวนฺ.
ธูก : (ปุ.) ลม, อากาศ, ธู กมฺปเน, กปจฺจโย, ส. ธูก.
นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
สุรปถ : (ปุ.) คลองแห่งพระอาทิตย์, อากาศ, กลางหาว. วิ. สุรานํ ปโถ สุรปโถ.
อนฺตลิกฺข : (ปุ.) อากาศเป็นที่เห็นซึ่งรูปในระ-หว่าง, อากาศ, กลางหาว, ประเทศมีรูปอันใคร ๆ พึงเห็นในระหว่าง.ส. อนฺตริกฺษ.
รตฺตสุวณฺณนาวา : (อิต.) เรือเป็นวิการแห่งทองมีสีสุก.
อนฺโตทกนาวา : (อิต.) เรือดำน้ำ.
กรกา : (อิต.) ลูกเห็บ (เมล็ดน้ำแข็งที่ตกจาก อากาศ เมฆที่ละลายไม่หมด). กเรน หตฺ เถน คยฺหุปคตฺตา กรกา. ส. กรก.
ทย : (ปุ.) ฟ้า ท้องฟ้า, อากาศ. ทยฺ. คติยํ, อ.
นกฺขตฺตปถ : (ปุ.) ทางแห่งนักษัตร, คลอง แห่งนักษัตร, อากาศ.
ผิย : (ปุ.) พาย, แจว, กรรเชียง. วิ. ผิยติ นาวา เอเตนาติ ผิโย. ผิ คมเน. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์. หรือตั้ง ผา วุฑฺฒิยํ, อิโย. แปลง ผิ เป็น ปิ เป็น ปิย บ้าง.
อนิลปถ : (ปุ.) คลองแห่งลม, กลางหาว, ฟ้า, ท้องฟ้า, อากาศ.
อาทิจฺจปถ : (ปุ.) ทางแห่งพระอาทิตย์, คลองแห่งพระอาทิตย์, กลางหาว, อากาศ.
อุกฺกาปาต : (ปุ.) การตกแต่งประทีป, อุกกา- บาต (แสงสว่างเป็นดวงไฟตกมาจาก อากาศ ผีพุ่งใต้), ส. อุลฺกาปาต.
อนิลญฺชส : (ปุ. นปุ.) อากาศ.อนิล+อญฺชส.
ขค ขคฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในอากาศ, นก. วิ. เข อากาเสคจฺฉตีติ ขโค ขคฺโค วา. ขปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. รูปฯ ๕๗0 วิ. เขน คจฺฉตีติ ขโค. ส.ขค.
ขจร : (วิ.) ไปในอากาศ, ฯลฯ. ขจร(ขะจอน) กำจร ไทยใช้เป็นคำกิริยาในความว่า ฟุ้งไป กระจายไป ระบือไป ดังไป.
เขจร : (ปุ.) สัตว์ผู้บินไปในอากาศ, นก. เข+จร ไม่ลบ เอ ซึ่งสำเร็จมาจากสัตมีวิภัตินาม.
ฆโนปล : (นปุ.) ลูกเห็บ คือเม็ดน้ำแข็งที่ตกลง มาจากอากาศเมื่อฝนตก วิ. ฆนโต ฆนกาเล วา สญฺชาติ อุปสํ สิลา ฆโนปล.
ทุทฺธิน : (นปุ.) ลูกเห็บ (เม็ดน้ำแข้งที่ตกมา จากอากาศ.
ทุทิน ทุทฺทิน : (นปุ.) วันพยับฝน, วันอากาศ ชื้น, วันฟ้าชอุ่ม, วันฟ้าชอุ่มฝน, วันมืด ฝน, วันครึ้มฟ้าครึ้มฝน, ทุรทิน. วิ. ทุฏฺฐุ ทุฎฐ วา ทินํ ทุทินํ ทุทฺทินํ วา.
ปพฺพตอุตุ : อิต. ดินฟ้าอากาศแถบภูเขา
มนฺทากินี : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ.
มลวิส : (นปุ.) พิษอันเกิดจากความมัวหมอง, พิษอันเกิดจากอากาศไม่บริสุทธิ์.
เมฆ : (ปุ.) เมฆ ชื่อไอน้ำที่รวมกันเป็นก้อนลอยอยู่ในอากาศ วิ. มิหติ โลกํ วสฺส ธาราหีติ เมโฆ. มิหฺ เสจเน, โฆ. แปลง อิ เป็น เอ ลบ หฺ.
วิหค : ป. ผู้ไปในอากาศ; นก
เวหายส, เวหาส : ป. อากาศ, ฟ้า
สุรนที : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ วิ. สุรานํ เทวานํ นที สุรนที.
อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
อฆคต : ค. ไปในอากาศ
อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
อพฺภนฺติ : อิต. อากาศ, เมฆ
อมฺพร : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, เวหาส, ฟ้า, อัมพร.อมฺพฺสทฺเท, โร.ส.อมฺพร.
อเวหาสกุฏิ : อิต. กุฎีไม่เป็นร้าน, กุฎีที่ไม่แขวนอยู่ในอากาศ คือ กุฎีไม่สูง
อากาสก : ๑. ป. นก ;
๒. ค. ซึ่งเคลื่อนไปในอากาศ, มีอยู่ในอากาศ
อากาสคงฺคา : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ, แม่น้ำในอากาศ. วิ.อากาเสสนฺทมานาคงฺคาอากาสคงฺคา.
อากาสจารี : ค. ผู้เที่ยวไปในอากาศ
อากาสฏฺฐ : ค. ดำรงหรืออาศัยอยู่ในอากาศ, ที่สถิตอยู่ในอากาศ
อากาสฏฺฐกเทวตา : (อิต.) เทวดาผู้มีวิมานตั้งอยู่ในอากาศ, เทวดาผู้อยู่ในอากาศ.
อากาสธาตุ : อิต. อากาศธาตุ, ที่ว่าง, สภาพที่ว่างเปล่า
อากาสยาน : (นปุ.) ยานไปในอากาศ, ยานแล่นไปในอากาศ.
อากาสยานิกโยธ : (ปุ.) ทหารอากาศ.
อากาสยานิกเสนา : (อิต.) กองทัพอากาศ.
อากาสานญฺจ : (นปุ.) อากาศไม่มีที่สุด.อากาสา-นนฺต+ณฺยปัจ.ภาวตัท.ลบอที่ตเหลือเป็นตฺลบณฺรวมเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจแปลงนฺเป็นนิคคหิตแปลง นิคคหิตเป็นญฺรูปฯ ๔๑, ๓๗๑.
อากาสานนฺต : (วิ.) มีอากาศเป็นที่สุดหามิได้, ไม่มีอากาศเป็นที่สุด.
อุณหภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งความร้อน, ระดับ แห่งความร้อน, อุณฺหภูมิ (ระดับแห่ง ความร้อนเย็นของอากาศ).