อาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, โรง.ส. อาคาร. อคาร.
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
อาคาร, - ริก : ค. เกี่ยวกับบ้าน, ซึ่งอยู่ในบ้าน, เพื่อนบ้าน
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
อคาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, โรง, ที่อยู่, กระท่อม, หอ, อาคาร, ส. อคาร, อาคาร.
กุฑ กุฑก กุฑฺฑ : (นปุ.) ฝา, ฝาบ้าน, ฝาเรือน. กุฏฺ เฉทเน, อ, ฏสฺส โฑ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ฏ เป็น ฑฺฑ.
กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
กูฏาคาร : นป. เรือนยอด, อาคารที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
เคหชน : ป. เคหชน, คนที่อยู่ในบ้าน, สมาชิกในครัวเรือน
เคหทฺวาร : นป. ประตูบ้าน, ประตูเรือน
เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เคหวิคต : นป. ทรัพย์สมบัติแห่งบ้านเรือน, อุปกรณ์แห่งเรือน
จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
ธุรคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ๆ, บ้านใกล้เรือนเคียง
นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ;
๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
ปริสร : ป., นป. บ้านใกล้เรือนเคียง, ดินแดนติดต่อกัน
ปาฏิกา : อิต. หินที่มีรูปเป็นอัฒจันทร์ที่บันไดบ้านเรือนหรือสำหรับล้างเท้า
สนฺนิกฏฺฐ : ป. เพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียง
สนฺนิเกต : (ปุ.) บ้านของตน, เรือนของตน, ส+นิเกต ซ้อน นฺ.
หมฺมิย : (นปุ.) เรือนโล้น, ปราสาทโล้น. หรฺ หรเณ, โย, ยมฺหิ มิอาคโม, รสฺส โม. โบราณแปลว่าบ้านเศรษฐี. ทิมแถว(เรือนหลังคาตัด) ทิมคต ก็ว่า.
อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
อนฺตรฆร : (นปุ.) ระหว่างแห่งเรือน, ละแวกแห่งบ้าน, ละแวกบ้าน.
อมาชาต : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ทาสที่เกิดในเรือน
อโยฆร : นป. เรือนเหล็ก, บ้านที่ทำด้วยเหล็ก
อามาย : ค. ผู้เกิดในบ้าน, ผู้เกิดภายใน, ทาสในเรือนเบี้ย
อิสิปพฺพชา : อิต. การสละบ้านเรือนออกบวชเป็นฤษี
ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
ปติสฺสย : ป. ที่พำนัก, ที่อาศัย, เรือน
วสน : นป. การอยู่, ที่อยู่, บ้าน; เสื้อผ้า
สทน : นป. ที่อยู่, ที่กิน; บ้าน
การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
คมน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป, เรือน. คมฺ คติยํ, ยุ.
ฆร : (นปุ.) กล่อง, เรือน. วิ. ฆรติ กิเลสวสฺสํ เอตฺถาติ ฆรํ. ฆรฺ เสจเน, โณ. คยฺหตีติ วา ฆรํ. คหฺ คหเณ. โณ, คหสฺส ฆราเทโส. รูปฯ ๕๖๗.
ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.