อาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, โรง.ส. อาคาร. อคาร.
อาคาร, - ริก : ค. เกี่ยวกับบ้าน, ซึ่งอยู่ในบ้าน, เพื่อนบ้าน
คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
อคาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, โรง, ที่อยู่, กระท่อม, หอ, อาคาร, ส. อคาร, อาคาร.
กูฏาคาร : นป. เรือนยอด, อาคารที่มีหลังคาเป็นยอดแหลม
โกญฺจ : (ปุ.) นกกระเรียน, หกกาเรียน. กุจฺ ตาเร, โณ, นิคฺคหิตาคโม.
คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
ฉนฺทส : (ปุ.) พราหมณ์ (ผู้เรียนพระเวท) วิ. ฉนฺทํ อธิเตติ ฉนฺทโส. ส ปัจ.
ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
ญตฺวา : กิต. รู้แล้ว, เข้าใจแล้ว, เรียนรู้แล้ว
ธมฺมปริยตฺติ : อิต. ธรรมปริยัติ, การเรียนธรรม, การศึกษาธรรม
ธมฺมปริยาย : (ปุ.) กระบวนของธรรม, ลำดับ ของธรรม, การเล่าเรียนธรรม, การสอนธรรม, นัยเป็นเครื่องยังคำสอนให้เป็นไปรอบ, การอธิบายตามความหมายของธรรม.
ธมฺมสมาทาน : นป. ธรรมสมาทาน, การสมาทานธรรม, การศึกษาเล่าเรียนธรรม
นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
นิปฐ : ป. ปาฐะ, การสอน, ความฉลาด, การเรียน, การหัดอ่าน
ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
ปริยตฺติ : อิต. การเล่าเรียน
ปริยตฺติธมฺม : ป., นป. ธรรมที่ต้องเล่าเรียน
ปริยาปุณน : นป. การเรียน
ปริยาปุณาติ : ก. เล่าเรียน, ขวนขวาย
ปริยาปุต : กิต. เล่าเรียนแล้ว, ขวนขวายแล้ว
ปริยายกถา : อิต. การเล่าเรียน, การพูดอ้อมค้อม
ปารายณิก : ค. ผู้เรียนเรื่องโบราณ, นักศึกษาโบราณคดี
พฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ผู้คงแก่เรียน
พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
พหุสุต : (วิ.) ผู้ฟังมาก, ผู้สดับมาก, ผู้เรียนมาก, ผู้มีสุตะมาก, ผู้คงแก่เรียน. วิ. พหุสุตํ ยสฺส โส พหุสุโต.
พหุสุต, พหุสุตก, พหุสฺสุต, พหุสฺสุตก : ค. พหูสูต, ผู้มีความรู้มาก, ผู้คงแก่เรียน, ผู้ได้ยินได้ฟังมาก, นักปราชญ์
มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
วฺยตฺต : ๑. ป. ผู้เรียน, ผู้รู้ ;
๒. ค. ฉลาด
สกฺขก : (ปุ.) คนผู้ศึกษา, คนผู้เล่าเรียน.
สมุคฺคณฺหาติ : ก. เรียนดี
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สิกฺขก : (วิ.) ผู้ศึกษา, ผู้เล่าเรียน. สิกฺข วิชฺโชปาทาเน, ณวุ.
สิกฺขติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน
สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
สุคฺคหิต : ก. ถือเอาดีแล้ว, เรียนดีแล้ว
สุคหณ : นป. จับดี, จับแน่น, การเรียนดี
สุตฺตนฺติก : (วิ.) ผู้เรียนพระสูตร, ผู้รู้พระสูตร. วิ. สุตฺตนฺตํ อธิเตติ สุตฺตนฺติโก. ณิก ปัจ. ตรัตยทิตัท.
เสวน : (วิ.) เสพ, คบหา, รับใช้, ปฏิบัติ, ศึกษา, เล่าเรียน.
อชฺฌยน : นป. การสาธยาย, การศึกษา, เล่าเรียน
อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.