Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อาจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อาจ, 38 found, display 1-38
  1. อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
  2. อาจริยา : (อิต.) อาจารย์หญิง, หญิงผู้เป็นอาจาย์เป็นอาจรินี โดยลบยลงอินีปัจ. อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๒.
  3. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  4. อาจมนกุมฺภี : อิต. หม้อชำระ, หม้อสำหรับล้าง
  5. อาจมา : (อิต.) ความว่องไว, ความปรารถนา.?
  6. อาจเมติ : ก. ชำระล้าง, ทำความสะอาด
  7. อาจ : ป. การสั่งสม, การรวบรวม, ก่อทำขึ้น
  8. อาจโยค : (วิ.) ผู้ควรอันยาจกพึงขอ.
  9. อาจรติ : ก. ประพฤติ, ปฏิบัติ, กระทำ
  10. อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
  11. อาจริยานี : อิต. อาจารย์หญิง; ภรรยาของอาจารย์
  12. อาจรี : ป. การสอน, การแนะนำ
  13. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  14. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  15. อุสฺสหติ : ก. อุตสาหะ, เพียร; อาจ, สามารถ
  16. กากมาสก : (ปุ.) กากมาสกะ ชื่อคนที่บริโภค มากล้นขึ้นมาถึงขอบปาก จนนกกาอาจ จิกกินได้.
  17. คลชฺโฌหรนิย : ค. (ของแข็ง) ที่อาจกลืนกินได้
  18. ปธสิย : ค. ซึ่งอาจถูกจำกัด, ซึ่งทำลาย, ซึ่งปล้น, ซึ่งข่มขืนได้
  19. ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
  20. โมฆิย : (วิ.) อาจเป็นโมฆะ, เป็นโมฆะ.
  21. สกฺกุณาติ, สกฺโกติ : ก. อาจ, สามารถ
  22. สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
  23. สมตุถ : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, ส. สมรฺถ.
  24. สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
  25. สามตฺถิย : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, มี, เป็น, ควร, สมควร.
  26. อปฺปฏิสนฺธิก, - สนฺธิย : ค. ๑. ไม่อาจถือปฏิสนธิอีก, ไม่กลับมาเกิดอีก; ๒. แก้ไขไม่ได้ ; ๓. รวมกันไม่ได้
  27. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  28. อลคทฺท : (ปุ.) งูพิษ, งูมีพิษอันอาจ (พิษกล้า), งูเลื้อยไว.วิ.อรํสีฆํคจฺฉตีติอลคทฺโท.อรํปุพฺโพ, คมฺคติยํ, โท, นิคฺคหิตโลโป, รสฺสลตฺตํ, มสฺสทตฺตญฺจ.ผู้ให้ซึ่งทุกข์เพียงพอวิ. โค วุจฺจติทุกฺขํ, ตํเทตีติคโท, วิสํ, อลํปริปุณฺณํคทํเอตสฺสาติอลคทฺโท
  29. อสกฺก, - กุเณยฺย, - โกนฺต : ค. ไม่อาจ, ไม่สามารถ, ไม่สมควร
  30. อสมฺปายนฺต : อิต. ไม่อาจแก้หรืออธิบายได้, ไม่อาจตอบปัญหาได้
  31. อสมฺภุณนฺต : ค. ไม่สามารถ, ไม่อาจ
  32. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  33. อสหาริก, - ริย : ค. พรากไปไม่ได้, ไม่อาจถือไปได้
  34. อากาส : (ปุ.) ช่องว่าง, ช่องว่างมีในกาย, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า (ไถไม่ได้ ไม่อาจไถ เขียนไม่ได้), วิ. นกสฺสตีติอากาโส.กสิตุวิเลขิตุนสกฺโกตีติอตฺโถ.ภูสํกาสนฺเตทิปฺ-ปนฺเตปทตฺถาเอเตนาติวาอากาโส.อา-ปุพฺโพ, กสฺวิเลขเน, โณ.ส.อากาศ.
  35. อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
  36. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  37. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  38. อุสฺสหน : นป. อุตสาหะ, ความเพียร, ความอาจ, ความสามารถ
  39. [1-38]

(0.0119 sec)