อาน : (นปุ.) ลมหายใจออก.วิ.อนฺนติอเนนาติอานํ. อนฺปาณเน, โณ. อานนฺติอสฺสาโสอปานนฺติปสฺสาโส.แปลว่าลมหายใจเข้าอุ.อานาปนสติสติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.ส.อาน.
อาน, อาณ : นป. การหายใจเข้า, ลมหายใจ
อานย : (ปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
อานยน : (นปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
อานณฺย : นป. ความไม่มีหนี้
อานยติ : ก. นำมา, ไปพามา
อานิ : (นปุ.) สิ่งอันบุคคลพึงได้, ผล.อาปุพฺโพ, นิปาปเน, อิ.
ขตฺติยานี : (อิต.) นางกษัตริย์, ฯลฯ. วิ. ขตฺติยสฺส อปจฺจํ ขตฺติยานี. อาน ปัจ. อี อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๓ ลง อานี ปัจ.
ทตฺติม : (วิ.) เกิดแล้วด้วยการให้, เกิดแล้ว ด้วยทาน. วิ. ทาเนน นิพฺพตฺตํ ทตฺติมํ. ทาน+ตฺติม ปัจ. ลบ อาน รูปฯ ๖๕๔.
มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
สปฺปาน : (ปุ. นปุ.) คราบงู. สปฺป+อาน.
สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
ชานนก : (วิ.) ผู้รู้. ณวุ ปัจ แปลงเป็น อานนก. รูปฯ ๕๕๖.
ปฐติ : ก. อ่าน, ท่อง, สวด
อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.
อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
อรญฺญานี : (อิต.) ป่าไม้ใหญ่, ป่าใหญ่, ดง.เมื่อลงอีอิต. ให้เอาอที่ญเป็นอาน.
อสฺสตฺถร : ป. เครื่องลาดม้า, อานม้า
อสฺสภณฺฑก : นป. ผ้าปูหลังม้า, อานม้า, เครื่องแต่งม้า
อาสีน : (วิ.) นั่ง, นั่งอยู่. อาสฺ อุปเวสเน, โต. ตสฺส อีโณ, ณสฺส โน.อาปุพฺโพ, สิ นิสฺสเย, อาโน, อานสฺส อีโน. สิทฺ คตฺยวสาเน วา, อ, ทสฺส โน, ทีโฆ.
อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.