อาวฏฺฏ : (วิ.) กลม, วน, วนเวียน (ห้วงน้ำที่ หมุนวน). วิ. อาวฏฺฏนฺติ ชลานิ อเตฺรติ อาวฏฺโฏ. อาปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตุ วา วตฺตเน, อ.
อาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อาศัย, ที่พัก, ที่พักอาศัย, เรือน. วิ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวสโถ. อาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. อาวสถ.
อาวชฺช : (วิ.) ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, ทราม, เลว ทราม, อาปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณฺย.
อาวชฺชติ : ก. คิด, นึก, สังเกต, พิจารณา; เคลื่อน, คว่ำ, ไหลออก
อาวชฺชน : (นปุ.) การพิจารณาอารมณ์, ความพิจารณาอารมณ์. อาปุพฺโพ, วชฺ มคฺคเน, ยุ, ชฺสํโยโค.
อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
อาวชฺเชติ : ก. ให้คิด, ให้พิจารณา, ให้เอนเอียง
อาวชติ : ก. เคลื่อนที่, ดำเนินไป, กลับ, ถอยคืน
อาวฏ : กิต. ปิดแล้ว, กั้นแล้ว
อาวฏฺฏติ : ก. หมุนเวียนมา
อาวฏฺฏน : นป. ความวนเวียน, ความงงงวย, เครื่องล่อ, การถูกมารดลใจ
อาวฏฺฏนา : อิต. ความสนใจ, ความเข้าใจ
อาวฏฺฏนี : อิต. ผู้หญิง; เตาหลอม, เบ้ากลม
อาวฏฺฏสีส : (ปุ.) คนหัวขอด.
อาวฏฺเฏติ : ก. ให้หมุนมาหมุนไป; ให้ดลใจ, ให้สิง
อาวตฺต : ๑. นป. การหมุนไป, การพัดไป, การน้อมไป;
๒. ค. ซึ่งหมุนไป, ซึ่งเปลี่ยนไป
อาวตฺตติ : ก. หมุนกลับ, เปลี่ยนไป, หันไป
อาวตฺถิก : ค. ที่กำหนด, ที่เหมาะสม, ตามนิสัยเดิม
อาวปติ : ก. หว่าน, โปรย, ฝากไว้
อาวปน : นป. การหว่าน, การโปรย, การฝากไว้; ถ้วย; การทอ
อาวร : ค. ซึ่งห้าม, กีดขวาง
อาวรณตา : อิต. ความขัดขวาง, ความกีดกัน
อาวรติ : ก. ปิด, กั้น, กีดกัน, ห้าม
อาวริย : กิต. ห้ามแล้ว, ขัดขวางแล้ว
อาวล : นป. พันธุ์ไม้เลื้อยมีดอกสีแดงใหญ่มีรูปเหมือนแตร
อาวลิ : (อิต.) แถว, แนว, ราวป่า. อาปุพฺโพ, วลฺ สํวรเณ, อิ.
อาวลิ, - ลี : อิต. ราว, แถว, เชือก
อาวสติ : ก. อยู่, พำนัก, อาศัย
อาวสาคาร : นป. โรงพัก, ที่พักคนเดินทาง
อาวสิต : ค. รวบรวม, สั่งสม; สุก, แก่
อาวห : (วิ.) นำมา. อาปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ.
อาวห, - ก : ค. นำมา, พามาแต่งงาน, พามา
อาวหติ : ก. นำมา, พามาแต่งงาน, พามาอาวาหมงคล
อาวหน : (นปุ.) การนำมา. อ, ยุ ปัจ.
อาวิ : อ. ที่แจ้ง, ที่เปิดเผย, จะแจ้ง, กระจ่างแจ้ง
อาวิ อาวี : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, ที่แจ้ง, ในที่แจ้ง.
อาวี : อิต. ความเจ็บปวดในการคลอดบุตร
อาวา : อิต. เคราะห์ร้าย, อันตราย
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
คาวี : (อิต.) นางโค, แม่โค, แม่โคสามัญ. วิ. คจฺฉตีติ คาวี. คมฺ คติยํ, อี. อภิฯ น. ๔๐๓. ถ้าตั้ง โค ศัพท์แปลง โอ เป็น อาว อี, อิต.
ยาวส : (ปุ.) หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, ฟ่อนหญ้า. ยุ มิสฺสเน, อโส. พฤทธี อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว.
โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
อาปา, อาวา : อิต. ความทุกข์, อันตราย, เคราะห์กรรม
กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
ขนฺธาวาร : (ปุ.) สถานที่เป็นที่กั้นด้วยท่อนไม้, ประเทศล้อมโดยรอบด้วยสิ่งทั้งหลายมีท่อน ไม้เป็นต้น, ทั้พรั้ง (การระวังรักษาทัพ), กองทัพ, ทัพไชย, ค่าย. วิ. ทารุกฺ ขนฺธาทีหิ อา สมนฺตโต วรนฺติ ปริกฺขิปนฺติ เอตฺถาติ ขนฺธาวาโร. ขนฺธ อา ปุพฺโพ, วรฺ อาวรณอจฉาทเนสุ, โณ.
ตาวตก : (วิ.) มีประมาณเพียงนั้น, ฯลฯ. วิ. ตํ อิว ปริมาณ มสฺส ตาวตกํ ต+อาวตก ปัจ. รูปฯ ๖๓๙ วิ. ตํ ปริมาณ มสฺสาติ ตาวตกํ.