อาหาร : (ปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, วัตถุอัน...พึง กลืนกิน, เครื่องบริโภค, เครื่องค้ำจุนชีวิต, ของกิน, อาหาร. วิ. โอชฏฺฐมกํ รูปํ อาหร ตีติ อาหาโร. อาหรติ พลายูนีติ วา อาหาโร. อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, โณ. แปลว่า การณะ, เหตุ. ปัจจัย การนำมา อีกด้วย. ส. อาหาร.
ฆาส : (ปุ.) การกิน, หญ้า, สวน, ไร่, ไร่หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, เครื่องบริโภค, อาหาร, ข้าว. ฆสฺ อทเน, โณ.
ชมฺภ : ป. ฟัน; ผลมะนาว; อาหาร; กอง
นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
ภกฺข : (ปุ. นปุ.) การกิน, การเลี้ยง, ของกิน, ของบริโภค, อาหาร, ภักษ์, ภักษา. ภทฺขฺ อทเน, อ. ส. ภกฺษ.
ภกฺขา : (อิต.) การกิน, การเลี้ยง, ของกิน, ของบริโภค, อาหาร, ภักษ์, ภักษา. ภทฺขฺ อทเน, อ. ส. ภกฺษ.
อาหารวิกฺกย อาหารเกตุ : (ปุ.) คนขายอาหาร.
โอกุล : ป. ขนม, อาหาร
โคจรณ : นป. ทุ่งหญ้า, อาหาร (หญ้า)
ผสฺสหาร : ป. ผัสสาหาร, อาหาร คือ ผัสสะ
สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
กุจฺฉิปริหาริก : ค. ผู้บริหารท้อง, (อาหาร) สำหรับบริหารท้อง
กุถิต : ค. เดือด, เดือดพล่าน; (อาหาร)ที่ย่อยแล้ว; ซึ่งถูกทรมาน, ซึ่งระทมทุกข์
ขาทก : ค. ผู้กิน, ผู้อาศัย (อาหาร) เป็นอยู่
ขาทา : อิต. อาหาร
ฆสิ : ป. อาหาร
ชมน : นป. อาหาร
ทินจฺจย : (ปุ.) เย็น (เวลา..), เวลาเย็น, เวลา ใกล้ค่ำ, วิ. ทินานํ อจฺจโย อติกฺกโม อวสานํ วา ทินจฺจโย.
นิปฺผนฺนรูป : (นปุ.) รูปสำเร็จ, นิปผันนรูป คือรูปอันเกิดจาก กรรม อุตุ และ อาหาร.
นิวาป : (ปุ.) เหยื่อ, อาหาร. นิปพฺโพ, วปฺ พีชนิกฺเขเป, โณ.
โภชน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงกิน, สิ่งอัน...พึงกิน, การกิน, การฉัน, ของกิน, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, อาหาร. วิ. ภุญฺ-ชิตพฺพนฺติ โภชนํ. ภุญฺชิ-ยตีติ วา โภชนํ. ภุญฺชนํ วา โภชนํ. ยุ ปัจ.
ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
สญฺฌา : อิต. เย็น (เวลา)
สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
สาย : (อัพ. นิบาต) เย็น. สยตฺถนิปาต. ในเวลาเย็น, กาลสตฺตมิยตฺถนิปาต. ส. สายํ.
สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
สีต สีตล : (วิ.) หนาว, เย็น. ส. ศีต. ศีตล.
อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
อติริจฺจติ : ก. เหลืออยู่, คงอยู่, เป็นเดน (อาหาร)
อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
อนฺน : (นปุ.) การกิน, การเสวย, ของกิน, ของเสวย, ของบริโภค, เครื่องบริโภค, ข้าว, ข้าวสุก, ข้าวสวย, อาหาร.อทฺภกฺขเณ, โต.แปลงต เป็นนฺนลบทฺ.ส. อนฺน.
กฏจฺฉุมตฺต : ค. มีอาหารเพียงทัพพีเดียว
กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ;
๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
กนฺทฬ : ป. ชื่อบัวน้ำ ซึ่งใช้เป็นอาหารได้มีเหง้าใหญ่มาก
กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรียตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
กสิปุ : ป. อาหาร; เครื่องแต่งตัว
กากภตฺต : นป. อาหารของกา
กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
กิฏฐาท : ค. ผู้บริโภคข้าว, (สัตว์) ที่กินข้าวกล้าเป็นอาหาร
กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
กุณฺฑกขาทก : ค. ผู้กินรำข้าว (เป็นอาหาร)
กุถน : นป. การย่อยอาหาร
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
ขชฺช : ๑. นป. อาหารแข็ง, ของเคี้ยว;
๒. ค. ของควรเคี้ยว
ขชฺชโภชนาหาร : (ปุ.) อาหารคือของควรเคี้ยว และอาหารคือของควรบริโภค, อาหารว่าง และอาหารหนัก.