อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
อินฺทุริย : นป. อินทรีย์, อำนาจ, ความเป็นใหญ่
ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
มหาสาล : (วิ.) ผู้มั่งคั่ง, ผู้มั่งมี, ผู้มหาศาล คือ ผู้เป็นใหญ่. ผู้ยิ่งใหญ่ในหน้าที่ต่างๆ เช่น กษัตริย์มหาศาล คือ กษัตริย์ผู้มีอำนาจมาก คหบดีมหาศาล คือ คหบดีผู้มีทรัพย์มาก เป็นต้น.
อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
อนุภาว : ป. อานุภาพ, กำลังอำนาจ, ความยิ่งใหญ่
อภิภว : ค. ผู้มีอำนาจ, ผู้ครอบงำ, ผู้ยิ่งใหญ่
อภิวคฺค : นป. ๑. อำนาจเหนือ ;
๒. หมู่ใหญ่ ;
๓. ประตูลูกกรง
อานุภาว : (ปุ.) การเจริญตาม, ความเจริญตาม, อานุภาวะ.ไทยอานุภาพคืออำนาจฤทธิ์เดชความยิ่งใหญ่กำลังพลังพลังใหญ่, ความสง่า.วิ.อนุตํสมงฺคินํภาเวติวฑฺ-เฒตีติ อนุภาโว. อนุภาโว เอว อานุภาโว.ส. อนุภาว.
ถลิ : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, ถ้วย. ถลฺ ฐาเน, อิ.
ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ถุลฺล : ค. อ้วน, ใหญ่, หยาบ, ชั่วหยาบ
เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
ปภาว : (ปุ.) เดชเกิดจากการมีอำนาจลง อาชญา, เดชเกิดแต่อาชญา, ( ทณฺฑโช เตโช ) , อำนาจ, ฤทธิ์. วิ. ปภวนฺติ เตชสฺ สิโน อเนเนติ ปภาโว. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ.
ปวฑฺฒ : ค. เจริญ, งอกงาม, ใหญ่, แข็งแรง
ปาติ : ๑. อิต. ถาด, ถ้วย, จาน, บาตร;
๒. ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง
ปิสีล : นป. หน้าปัดนาฬิกา, ถาด, บาตร
ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง;
๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
พหล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ใหญ่, หนา, ทึบ, ล่ำ, กล้า. พหฺ วุทฺธิมฺหึ, อโล.
พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
อาณา : (อิต.) การบังคับ, ความบังคับ, คำสั่ง, คำสั่งบังคับ, อำนาจ, อำนาจปกครอง, อาชญา, อาญา.อาณฺเปสเน, อ, อิตฺถิยํอา.ส. อาชฺญา.
อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
อุทาร : (วิ.) เลิศ, ยิ่ง, เลิศยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, วิเศษ, สำคัญ, สูง. ส. อุทาร.
อุรูฬฺหว : ค. กว้าง, ใหญ่, แข็งแรง
โอฬาร : ค. โอฬาร, ใหญ่, ประเสริฐ
โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
กลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ระลอกใหญ่, คลื่น ใหญ่. วิ. วาตเวเคน สมุทฺทโต กลฺลติ นทตีติ กลฺโลโล. กลฺลฺ สทฺเท, โอโล. ส. กลฺโลล.
กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
ฆ : (ปุ.) คันไถ, คู่แห่งคันไถ, ระฆัง, ระฆัง ใหญ่. ฆธาตุ อสหเณ อขนฺติยํ วา, อ.
จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
ตาฏงฺก : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู, ตุ้มหู ใหญ่. ส. ตาฏงฺก.
ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
เตชสี เตชสฺสี : (วิ.) ผู้มีอำนาจ, ผู้มีเดช (อำนาจ). วิ. เตโช อสฺส อตฺถีติ เตชสี เตชสฺสี วา. สี ปัจ. ศัพท์หลังซ้อน สฺ หรือ แปลง สี เป็น สฺสี.
ถูปิกต, - ปึกต : ค. ซึ่งถูกทำให้เป็นยอด, ซึ่งพูนล้น (บาตร)
พฺรห : (วิ.) เจริญ, เจริญขึ้น, งอกงาม, ไพบูล, ไพบูลย์, สูง, สูงขึ้น, ใหญ่. พฺรหฺ วุทฺธิอุคฺคเมสุ, อ.
พฺรหา : ค. ใหญ่
ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.