Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อิจฉาริษยา, อิจฉา, ริษยา , then ริษยา, อจฉา, อิจฉา, อิจฉาริษยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อิจฉาริษยา, 35 found, display 1-35
  1. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  2. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  3. อิสฺสติ : ก. อิสสา, ริษยา
  4. อุทิกฺขติ : ก. มองดู, ตรวจดู; หวัง; ริษยา
  5. อุปสุยฺยติ : ก. อิสสา, ริษยา
  6. อภิคิชฺฌติ : ก. ๑. ปรารถนา, ต้องการ; ๒. กำหนัด, ยินดี ; ๓. ริษยา
  7. กมฺพุ : (ปุ.) ทอง, ทองคำ, ทองปลายแขน, ทองกร, กำไลมือ. กมุ อิจฉายํ, พุ. กมฺพฺ สํวรเณ วา. อุ.
  8. กมุก : (ปุ.) ไม้หมาก, ต้นหมาก. กมุ อิจฉายํ, ณฺวุ.
  9. เคธิ : อิต. ความโลภ, ความปรารถนา, ความริษยา
  10. เคธิกต : ค. อันอิสสา, อันริษยาในคำว่า “เคธิกตจิตฺต”
  11. นิฏฐริย : (นปุ.) ความริษยา.
  12. นิฏฐรี : (อิต.) ความริษยา.
  13. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  14. ปิหยติ : ก. ริษยา, ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี; ปรารถนาที่จะป็นเช่นนั้นบ้าง
  15. ปิหยิต : ค. อันเขาริษยาแล้ว; อันเขาปรารถนาที่จะป็นเช่นนั้นบ้าง
  16. มหิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, ความมักมาก (เห็นแก่ได้) เป็นกิเลสที่หยาบกว่าอิจฉา.
  17. อนสุยฺย : กิต. ไม่บ่น, ไม่ริษยา
  18. อนสูยก : ค. ซึ่งไม่บ่น, อันไม่ริษยา
  19. อนิสฺสุกี : ค. ไม่ริษยา, ไม่หึง
  20. อนุสฺสุยฺยก : ค. ไม่อิสสา, ไม่ริษยา
  21. อนุสุยฺยก : ค. ไม่อิสสา, ไม่ริษยา
  22. อภิคิชฺฌน : นป. ๑. ความปรารถนา ; ๒. ความกำหนัด ; ๓. ความริษยา
  23. อรติ : (อิต.) ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, ความเบื่อ, ความริษยา, อรดี, อราดี.ส. อรติ.
  24. อสูยก : ค. ไม่บ่น, ไม่ริษยา
  25. อิสฺสกี : (วิ.) มีความฤษยา, มีความริษยา. อิสฺส+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. กฺ อาคม.
  26. อิสฺสามนก : ค. ผู้มีใจริษยา
  27. อิสฺสายนา : (อิต.) กิริยาที่ริษยา, ความริษยา, ความฤษยา.
  28. อิสฺสุกึ : ค. ผู้อิสสา, ผู้ริษยา
  29. อุสฺสุยิตตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนริษยา, ความเป็นแห่งคนขึ้งเคียด, ฯลฯ.
  30. อุสุยฺยก : ค. ผู้ริษยา, ผู้ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
  31. อุสุยฺยก อุสฺสู อุสูยก : (วิ.) ผู้ริษยา, ผู้ขึ้งเคียด, ผู้โกรธ, ผู้ชิงชัง.
  32. อุสุยฺยติ : ก. ริษยา, ไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
  33. อุสุยฺยนา : อิต. ความริษยา, ความไม่อยากให้คนอื่นได้ดี
  34. อุสุยา อุสฺสูยา อุสูยา : (อิต.) ความริษยา, ฯลฯ. อุสูยฺ โทสาวิกรเณ, อ.
  35. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  36. [1-35]

(0.0607 sec)