Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อินเดีย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อินเดีย, 57 found, display 1-50
  1. ทกฺขิณนิกาย : (ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
  2. กมฺโพช : (ปุ.) กัมโพชะ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. กมฺพุปุพฺโพ, โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. ส. กมฺโพช.
  3. กลิงฺคุ : ป., นป. ต้นไม้อินเดียชนิดหนึ่งคล้ายต้นพุด
  4. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็น อ เป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  5. กาลิงฺค : (ปุ.) กาลิงคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. กลฺ สทฺเท, อิงฺโค.
  6. กาเวรี : (อิต.) กาเวรี กเวรี ชื่อแม่น้ำสาย ๑ ใน ๕ สายของอินเดีย วิ. นานาคาหา กุลีภูตตาย กุจฺฉิตํ เวร มสฺสาติ กาเวรี. แม่น้ำ ๕ สายคือ จันทราคา สวัสวดี เนรัญชรา กาเวรี และนัมมทา แม่น้ำ ๕ สายอีกอย่าง ๑ ดู อจิรวตี.
  7. กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
  8. กุตุมฺพก : ป. ดอกกุตุมพกะ (ชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งในอินเดีย)
  9. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  10. กุสินารา : (อิต.) กุสินารา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ยสฺส มาปิตกาเล นิมิตฺต โมโลเกนฺตา พฺราหฺมณา กุสหตฺถนรํ ปสฺสิตฺวา มาเปนฺติ สา กุสินารา.
  11. โกสมฺพี : (อิต.) โกสัมพี ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. ขาทถ ปิวถาติ อาทีหิ ทสหิ สทฺเทหิ กุสนฺติ เอตฺถาติ โกสมฺพี. กุสฺ อวฺหาเณ, วี, นิคฺคหิตาคโม, ฎีกาอภิฯ ลง พ ปัจฺ อี อิต.
  12. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  13. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  14. จมฺปา : (อิต.) จัมปา ชื่อนครพิเศษของอินเดีย โบราณ วิ. จมนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา จมุ อทเน, โป.
  15. โจฬรฏฺฐ : นป. แคว้นโจฬะ, ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดียตอนใต้
  16. ชมฺพุ (พู) ทีป : ป. ชมพูทวีปคือประเทศอินเดีย
  17. ชมฺพูทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อประเทศอินเดีย โบราณ.
  18. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  19. ตกฺกสิลา : (อิต.) ตักกสิลา ชื่อนครพิเศษของ อินเดียโบราณ. วิ. โย ปุริสกาเรน อูโน โส ตตฺถ คนฺตฺวา ตํ อูนํ ปูเรตีติ ตกฺกสิลา
  20. นมฺมทา : อิต. ชื่อแม่น้ำในอินเดีย
  21. นฺยาย : ๑. ป. ดู นย๒. ป. ระบบปรัชญาอินเดียสายหนึ่งใน ๖ สาย
  22. ปณฺฑุกมฺพล : นป. ผ้ากัมพลสีเหลือง; ชื่อชนบทแห่งหนึ่งในอินเดีย
  23. ปสต : ๑. ป. ฟายมือ, ซองมือ, กำมือ, ๑/๒ ของเซีย (เครื่องตวงชนิดหนึ่งในอินเดียน้ำหนักเกือบกิโล); ๒. ค. ซึ่งเป็นจุดๆ
  24. พฺราหฺมณ : ๑. ป. พราหมณ์, วรรณะหนึ่งใน ๔ ของอินเดีย ; ๒. นป. คุณสมบัติที่ทำให้เป็นพราหมณ์หรือผู้ประเสริฐ
  25. พาราณสี : (อิต.) พาราณสี ชื่อพระนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ.
  26. พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
  27. ภคฺค : (ปุ.) ภัคคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบราณ, ภญฺช อวมทฺทเน, อ. แปลง ญฺช เป็น คฺค.
  28. มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
  29. มทฺท : (ปุ.) มัททะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบ ราณ. มทฺทฺ มทฺทเน, อ.
  30. มลย : (ปุ.) มลยะ ชื่อภูเขาอยู่ทางอินเดียตอนใต้ อุดมด้วยไม้จันทน์, ภูเขาไม้จันทน์, อาราม, อารามดอกไม้ เป็นต้น, สวนดอกไม้, ไม้จันทน์. มลฺ ธารเณ, โย.
  31. มลฺล : (ปุ.) มัลละ ชื่อวงศ์กษัตริย์อินเดียโบราณ, มัลลกษัตริย์.
  32. มหี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, ที่ดิน, โลก, มหี ชื่อแม่น้ำสายที่ ๕ ใน ๕ สายของอินเดียโบราณ. มหฺ ปูชายํ วุฑฺฒิยํ วา. อ, อิตฺถิยํ อี.
  33. มิถิลา : (อิต.) มิถิลา ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๑. วิ. มถียตีติ มิถิลา. มถฺ หึสายํ, อิโล, อสฺสิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา.
  34. ยมุนา : (อิต.) ยุมนา ชื่อแม่น้ำใหญ่สาย ๑ ใน ๔ สาย ของอินเดียโบราณ, แม่น้ำ ยมุนา. วิ. ยเมติ มลนฺติ ยมุนา. ยมุ อุปรเม, อุโน, อิตฺถิยํ อา. ยมสฺส ภคินี วา ยมุนา. แม่น้ำยมนา ก็เรียก.
  35. วงฺค : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย; ชื่อโรคชนิดหนึ่ง
  36. วลฺลกี : อิต. พิณของชาวอินเดีย
  37. สสุมารคิร : (นปุ.) สุงสุมารคิระ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ.
  38. สาเกตุ : (นปุ.) สาเกตุ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ, เมืองสาเกต.
  39. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  40. สาวตฺถิ : (อิต.) สาวัตถี ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. สวตฺถสฺส อิสิโน นิวาส นฎฐานตา สาวตฺถิ. สพฺพธน เมตฺถ อตฺถีติ วา สาวตฺถิ (เมืองที่มีทรัพย์ทั้งปวง). แปลง สพฺพธน เป็น สาว+อตฺถิก ลบ อีก ลง อิ ปัจ.
  41. สิวิ : (ปุ.) สิวิ สิวี ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ วิ. เสวนฺติ อเนนาติ สิวิ. สิ เสวายํ, วิ. สิวํ กโรนฺตีติ วา สิวิ. สิว+อิ ปัจ.
  42. สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  43. หิมวนิต : (ปุ.) เขาหิมพานต์. ป่าหิมพานต์ ชื่อภูเขาปกคลุมด้วยหิมะ ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศอินเดีย. หิมพาน หิมวันต์ หิมวัต ก็เรียก.
  44. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  45. อจิรวตี : (อิต.) อจิรวดีชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในห้าสายของอินเดียวิ. อจิรํสีฆํคมนเมติสฺ มตฺถีติ อจิรวตี.วนฺตุ ปัจ. อี อิต. แม่น้ำอีก ๔ สาย คือ คงคา มหี ยมุนา และ สรภู.
  46. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  47. อนฺตรฏฺฐก : นป. วันที่หนาวที่สุด ๘ วัน ในฤดูที่มีหิมะตก (ในประเทศอินเดีย)
  48. อปรนฺต : ป. ที่สุด, ปลายแดน, อนาคต, ชื่อประเทศในอินเดียตะวันตก
  49. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  50. อวนฺติ : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย
  51. [1-50] | 51-57

(0.0207 sec)