Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อิ่มเอิบ, เอิบ, อิ่ม , then อบ, อม, อมอบ, อิ่ม, อิ่มเอิบ, เอิบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อิ่มเอิบ, 95 found, display 1-50
  1. โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
  2. เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
  3. ธมฺมปีติ : อิต. ปีติในธรรม, อิ่มเอิบธรรม, ยินดีในธรรม
  4. ปตีต : กิต. เอิบอิ่มแล้ว, ยินดีแล้ว
  5. ปีณ : ค. เอิบอิ่ม; อ้วน, บวม
  6. ปีณน : นป. ความเอิบอิ่ม
  7. ปีณิต : ค. ซึ่งเอิบอิ่ม, ความยินดี
  8. ปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม, ยินดี
  9. ปีติมน : ค. มีใจเอิบอิ่ม
  10. สมฺปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม
  11. อภิมนาป : ค. ยินดียิ่ง, อิ่มเอิบใจ
  12. อาปิยติ : ก. เอิบอาบ, ซึมซาบ, เอิบอิ่ม, ไหลซ่านไป
  13. มตฺต : (วิ.) อิ่ม, ชื่นชม, ยินดี. มทฺ วิตฺติโยเค, โต, ทสฺส โต.
  14. อภิตปฺปยติ : ก. อิ่ม, พอใจ, จุใจ
  15. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  16. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  17. กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
  18. ขีรมตฺต : ค. มีน้ำนมพอดื่มอิ่ม
  19. ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  20. ติตฺต, ติตฺตก : ๑. นป. รสขม; ๒. ค. ขม; คม, แหลม; ๓. กิต. อิ่มแล้ว, พอใจแล้ว
  21. ติตฺติมนฺตุ : ค. มีความอิ่ม, มีความพอใจ
  22. ทุตปฺปย : ค. อันบุคคลให้อิ่มได้ยาก, ซึ่งเลี้ยงไม่รู้จักอิ่ม, ซึ่งไม่รู้จักพอ
  23. ปหูตภกฺข : ค. กินมาก, กินไม่รู้จักอิ่ม (หมายถึงไฟ)
  24. ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
  25. ปีติโสมนสฺส : นป. ความเอิบอิ่มใจและความสุขใจ
  26. พฺยาป : (วิ.) ซ่านไป, ซาบซ่าน, ซึม, ซามซึม, เอิบอาบ, แทรก, แผ่ไป, แพร่หลาย. วิปุพฺโพ, อาปฺ พฺยาปเน, อ.
  27. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  28. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  29. อตปฺปิย : ค. ไม่อิ่ม
  30. อติตฺต : ค. ไม่อิ่ม, ไม่เต็ม
  31. อติธาตา : อิต. ความอิ่มยิ่ง
  32. อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
  33. อาป : (ปุ.) ธรรมชาตอันเอิบอาบไปสู่ที่นั้น ๆ, ธรรมชาตอันเอิบอาบไปทุกแห่ง, น้ำ.วิ.ตํตํฐานํวิสรตีติอาโป.อปฺพฺยาปเนปาปเนวา, อ.อโปติสพฺพเตรฺติวาอาโปธรรมชาตอัน....ดื่มวิ.ปาปิยตีติอาโป.อาปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.ธรรมชาติที่แห้งเพราะความร้อนวิ. อาปียติ โสสียตีติอาโปอาปุพฺโพ, ปา โสสเน, อ.ที่อยู่แห่งน้ำ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาป
  34. อมนุสฺส : (วิ.) มิใช่มนุษย์วิ. นมนุสฺโสอมนุสฺโส.ส. อมนุษฺย.
  35. อมตนฺทท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (ทรงประทานอมต).
  36. อมตมคฺค : ป. ทางอันไม่ตาย, ทางนำไปสู่อมตะ
  37. อมตา : อิต. มะขามป้อม
  38. อมธุร : ค. ไม่หวาน
  39. อมนาป : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เจริญใจ
  40. อมนุญฺญ : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เป็นที่ยินดี
  41. อมนุสฺส, อมานุส : ป. อมนุษย์, ยักษ์, ผี, เทวดา
  42. อมนุสฺสิก : ค. เกี่ยวกับอมนุษย์, เป็นของอมนุษย์
  43. อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
  44. อมราวตี : อิต. เมืองของพระอินทร์
  45. อมราวิกฺเขปิก : ค. ผู้พูดเหลาะแหละไม่ตายตัว, ผู้พูดซัดส่ายเหมือนปลาไหล
  46. อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
  47. อมริสน : (วิ.) ไม่อดทน, ขึ้งเคียด, มักโกรธ.นปุพฺโพ, มริสุสหเน, ยุ.
  48. อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
  49. อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
  50. อุม : (นปุ.) ป่า, เมือง, ท่าเรือ. อมฺ คติยํ, อ, อสฺสุ. อุปุพฺโพ วา, มกฺ ปาเน, กฺวิ, ลบ กฺ.
  51. [1-50] | 51-95

(0.0656 sec)