มตฺต : (วิ.) อิ่ม, ชื่นชม, ยินดี. มทฺ วิตฺติโยเค, โต, ทสฺส โต.
อภิตปฺปยติ : ก. อิ่ม, พอใจ, จุใจ
กุจฺฉิปุร : (วิ.) ยังท้องให้เต็ม, เต็มในท้อง (พอเต็มท้อง พออิ่มท้อง).
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
ขีรมตฺต : ค. มีน้ำนมพอดื่มอิ่ม
เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ติตฺต, ติตฺตก : ๑. นป. รสขม;
๒. ค. ขม; คม, แหลม;
๓. กิต. อิ่มแล้ว, พอใจแล้ว
ติตฺติมนฺตุ : ค. มีความอิ่ม, มีความพอใจ
ทุตปฺปย : ค. อันบุคคลให้อิ่มได้ยาก, ซึ่งเลี้ยงไม่รู้จักอิ่ม, ซึ่งไม่รู้จักพอ
ธมฺมปีติ : อิต. ปีติในธรรม, อิ่มเอิบธรรม, ยินดีในธรรม
ปตีต : กิต. เอิบอิ่มแล้ว, ยินดีแล้ว
ปหูตภกฺข : ค. กินมาก, กินไม่รู้จักอิ่ม (หมายถึงไฟ)
ปีณ : ค. เอิบอิ่ม; อ้วน, บวม
ปีณน : นป. ความเอิบอิ่ม
ปีณิต : ค. ซึ่งเอิบอิ่ม, ความยินดี
ปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม, ยินดี
ปีติมน : ค. มีใจเอิบอิ่ม
สมฺปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม
โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
อตปฺปิย : ค. ไม่อิ่ม
อติตฺต : ค. ไม่อิ่ม, ไม่เต็ม
อติธาตา : อิต. ความอิ่มยิ่ง
อภิมนาป : ค. ยินดียิ่ง, อิ่มเอิบใจ
อวเทหก : ค. เต็มอิ่ม, เต็มท้อง เช่นคำว่า อุทราวเทหกโภชนํ = อาหารหนัก
อาปิยติ : ก. เอิบอาบ, ซึมซาบ, เอิบอิ่ม, ไหลซ่านไป
อมนุสฺส : (วิ.) มิใช่มนุษย์วิ. นมนุสฺโสอมนุสฺโส.ส. อมนุษฺย.
อมตนฺทท : (ปุ.) พระพุทธเจ้า (ทรงประทานอมต).
อมตมคฺค : ป. ทางอันไม่ตาย, ทางนำไปสู่อมตะ
อมตา : อิต. มะขามป้อม
อมธุร : ค. ไม่หวาน
อมนาป : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เจริญใจ
อมนุญฺญ : ค. ไม่น่าชอบใจ, ไม่เป็นที่ยินดี
อมนุสฺส, อมานุส : ป. อมนุษย์, ยักษ์, ผี, เทวดา
อมนุสฺสิก : ค. เกี่ยวกับอมนุษย์, เป็นของอมนุษย์
อมโนรม : ค. ไม่เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, ไม่เป็นที่ชอบใจ
อมราวตี : อิต. เมืองของพระอินทร์
อมราวิกฺเขปิก : ค. ผู้พูดเหลาะแหละไม่ตายตัว, ผู้พูดซัดส่ายเหมือนปลาไหล
อมรินฺท : (วิ.) ผู้เป็นใหญ่กว่าเทวดา, ผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, ผู้เป็นนายของเทวดา.
อมริสน : (วิ.) ไม่อดทน, ขึ้งเคียด, มักโกรธ.นปุพฺโพ, มริสุสหเน, ยุ.
อมรวตีอมราวตี : (อิต.) อมรวดีอมราวดีชื่อเมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง.วิ.อมราเอกทิวสํสนฺตีติอมรวตี.สาเอวอมราวตี.รสฺสสฺสทีฆตา (ทีฆะรัสสะเป็นอา).
อมรวตี อมราวตี : (อิต.) อมรวดี อมราวดี ชื่อ เมืองของพระอินทร์เมือง ๑ ใน ๓ เมือง. วิ. อมรา เอกทิวสํ สนฺตีติ อมรวตี. สา เอว อมราวตี. รสฺสสฺส ทีฆตา (ทีฆะรัสสะ เป็น อา).
อุม : (นปุ.) ป่า, เมือง, ท่าเรือ. อมฺ คติยํ, อ, อสฺสุ. อุปุพฺโพ วา, มกฺ ปาเน, กฺวิ, ลบ กฺ.
อมุ : (ไตรลิงค์) อื่น, โน้น, ที่นี่, ที่นี้.
อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
อิม : (ไตรลิงค์) นี้. อยํ ซึ่งสำเร็จรูปมาจาก อิมศัพท์ แปลว่า “ดังต่อไปนี้” ได้ในบาง กรณีย์. ส. อิทมฺ.
อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
โอม, โอมก : ค. ต่ำกว่า, เลวกว่า, น้อยกว่า
อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.