อิติ : (กิริยาอาขยาด) ย่อมเป็นไป. อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
อิทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, ในคราวนี้, คราวนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้. อิม ศัพท์ ทานิ ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ ใช้เป็นประธานบ้าง อุ. ภนฺเต อิทานิ ฯลฯ. ขุ.ธ.
อิธุม : (นปุ.) ฟืน, เชื้อฟืน, เชื้อไฟ. วิ. เอธยตีติ อิธุมํ. เอธฺ วุฑาฒิยํ, อุโม, แปลง เอ เป็น อิ.
อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
อิติห : (ปุ. นปุ.) อิติหา
อิติหาส : (ปุ.) อิติหาสศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วย พงศาวดารยืดยาว มีภารตยุทธ์ เป็นต้น. เรื่องราว, นิทาน.
อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
อิริตฺวิช อิริตฺวิชฺช อิริทฺวิช อิริทฺทิช : (ปุ.) พราหมณ์ผู้ทำหน้าที่บูชายัญ, พราหมณ์ผู้ บูชายัญ. วิ. อุตุมฺหิ ยชตีติ อิริตฺวิฒโช.
อิริยนา : (อิต.) ความเป็นไป, ความประพฤติ, ความเป็นอยู่, ความเจริญอยู่. อิริยฺ วตฺตเน, ยุ.
อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
อิรุพฺเพท : (ปุ.) อิรุพเพท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทที่ ๑ ใน ๓ ของพราหมณ์ (ฮินดู). ส. ฤคเรท.
อิตริตร : ค. นอกนี้, อันใดอันหนึ่ง
อิติกิร : อ. ดังข้าพเจ้าได้ยินมาดังนี้
อิติปิ : (อัพ. นิบาต) แม้ว่าดังนี้, ว่าดังนี้ก็มี.
อิติภวาภวกถา : (อิต.) เรื่องความเจริญและ ความเสื่อมด้วยประการนั้น ๆ
อิติลทฺธนาม : (วิ.) มีชื่อว่ากระนี้อันได้แล้ว.
อิติวิสา : อิต. ชะเอมต้น
อิติวุตฺต : (วิ.) อันพระพุทธเจ้าตรัสแล้วอย่างนี้.
อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
อิติหาสา : (อิต.) วิชากาพย์, ตำนาน.
อิติหีติห : (วิ.) เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาอย่างนี้ อย่างนี้, เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาดังนี้ดังนี้, จริงอย่างนี้, จริงอย่างนี้อย่างนี้.
อิติ อว : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
อิโตปฏฺฐาย : อ. ตั้งแต่นี้ไป, จำเดิมแต่นี้ไป
อิรา : (อิต.) นางเทวธิดาแห่งวาจา, แผ่นดิน, น้ำ, เหล้ากลั่น. ฝนลูกเห็บ.
อิราจาร : ป. นรก
อิริตฺวิช : ป. พราหมณ์ผู้บูชายัญ
อิริน, อิริณ : นป. ป่าใหญ่, ทะเลทราย, สถานที่แห้งแล้ง
อิริยติ : ก. เคลื่อนไป, ย้ายไป, พยายาม, ปฏิบัติ
อิรีณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมิได้ (เพราะไม่มีต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น), ที่มี ดินเค็ม.
อิลาโคล : อิต. โลก, แผ่นดิน
อิลาตล : นป. พื้นโลก, หน้าดิน
อิลิกา : อิต. โลก
อิลีส : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, ไหวติง. อิลฺ+อิสปัจ. ทีฆะ.
คชฺชิ คชฺชี : (ปุ.) เสียง. คชฺชฺ สทฺเท, อิ, อี.
ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
อกฺขเทวิ อกฺขเทวี อกฺขธุตฺต : (ปุ.) นักเลงเล่นการพนัน, นักเลงสกา.อกฺขปุพฺโพ, ทิวุกีฬายํ, อิ, อี. ศัพท์หลัง อกฺข+ธุตฺต.
กึกิณิ กึกิณี : (อิต.) พรวน, ลูกพรวน, ดุม, ลูกดุม. วิ. กึ กุจฺฉิตํ กณตีติ กึกิณิ กึกิณี วา. กณฺ สทฺเท, อิ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ, นิคฺคหิ- ตาคโม. เป็น กึกณิ บ้าง. ส. กึกณิ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
นาภิ : (อิต.) ดุม ชื่อของส่วนกลางล้อเกวียน หรือล้อรถที่มีรูสำหรับสอด, สะดือ, ท้อง, ศูนย์กลาง. วิ. นภตีติ นาภฺ หึสายํ, อิ, ณิ วา. ส.นาภิ, นาภี.
ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
พาธน : (ปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
พาธ พาธิ : (นปุ.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
พาธา : (อิต.) ความเบียดเบียน, ความยาก, ควาลำบาก. ความทุกข์. พาธฺ วิพาธายํ, อ, อิ, ยุ.
มลฺลิกา : (อิต.) มัลลิกา ชื่อพระมเหสีของพระเจ้าแผ่นดิน, ดอกมะลิ, มะลิซ้อน, ต้นมะลิ. วิ. มลฺยเต สพฺเพหีติ มลฺลิกา. มลฺลฺ ธารเณ, อิ, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
รสิ : (อิต.) แสง, แสงสว่าง, รังสิ, รังสี, รัศมี. วิ. รสนฺติ ตํ สตฺตาติ รํสิ. รสฺ อสฺสาทเน, อิ, นิคฺคหิตคโม.