มโหทร : (ปุ.) คนท้องใหญ่, คนลงพุง, อึ่งอ่าง, ปาด.
กฏาห : (นปุ.) กะโหลก, กระทะ, อ่าง, กระเบื้อง. ฆฏิกฏาเหน ปิณฺฑาย จรนฺติ. ภิกษุท. ใช้กระเบื้อง หม้อบิณฑบาต. ไตร. ๗/๕๒. ส. กฏาห.
โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
อรญฺช, อรญฺชร : ป. ตุ่มใหญ่, อ่าง, ไห, ขวด
อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
มณิก : (นปุ.) อ่าง, ไห, ขวด, หม้อ, หม้อน้ำ, โอ่งน้ำ. มนฺ ญาเณ, อิ. ก สกัด.
อรญฺชร : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, ตุ่มใหญ่.วิ. อรํสีฆํชราอสฺเสติอรญฺชโร.
อรญฺชอรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม.อาปุพฺโพ, รชิวิชฺฌเน, อ, รสฺโสศัพท์หลังกสกัด.
อรญฺช อรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม. อาปุพฺโพ, รชิ วิชฺฌเน, อ, รสฺโส ศัพท์หลัง ก สกัด.
อารญฺช : (นปุ.) อ่าง, อีเลิ้ง ( ตุ่มหรือโอ่งใหญ่)
ปานียมณฺฑป : ป. บ่อเก็บน้ำ, อ่างเก็บน้ำ
มมฺมน : ค. คนติดอ่าง
โลณี : อิต. หนองน้ำ; อ่างเกลือ
อาลวาลก : (นปุ.) ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้, ชลาธาร. อาล (ต้นไม้?) + วาลก (ร่องน้ำ) วาล ก สกัด. ส. อาลวาล อ่างน้ำ.
อุทกกฏาห : (นปุ.) อ่างแห่งน้ำ, อ่างขังน้ำ, อ่างน้ำ.
อุทกฏฺฐาน อุทกนิธาน : (นปุ.) ที่ขังน้ำ, อ่างน้ำ.
กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
จาฏิ : (อิต.) ตุ่ม, โอ่ง, ไห, หม้อน้ำ.
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
ทฺวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสอง, สององคุลี. วิ. เทฺว องคุลิโย ทฺวงฺคุลํ . ทฺวิ+องคุลิ แปลง อิ เป็น อ.
ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
ปุญฺชกต : ค. อัน... ทำให้เป็นพวก, ทำให้เป็นกอง
พทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์ผูกแล้ว, พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆ์กำหนดขึ้น มีศิลาเป็นต้น เป็นครื่องหมายเขต.
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
ยถาสก : ค., ยถาสกํ ก.วิ. ตามความป็นของของตน
วารก : ป. หม้อ, ไห, โอ่ง, ตุ่ม
สงฺการโคฬ : นป. ผ้าขี้ริ้วจากกองหยากเยื่อ
สมุนฺนทฺธ : (วิ.) ตั้งไว้เป็นกอง ๆ, บังเกิดเป็นกอง ๆ กัน. สํ อุป วิ ปุพฺโพ, อูหฺ ฐปเน, โต. แปลงนิคคหิต เป็น ม อิ เป็น ย วฺ เป็น พฺ รัสสะ อู เป็น อุ ยฺ อาคม แปลง ตฺ เป็น พฺห ลบที่สุดธาติ.
สิวาลย : (ปุ.) เทวสลานของพระอิศวร, ศิวาลัย.
โสณฺฑิกาโสณฺฑี : (อิต.) ตะพังหิน. โสฑฺ คพฺเภ, อี. ตระพัง คือ แอ่ง, บ่อ, หนอง. ศัพท์ต้น รัสสะ ก สกัด อา อิต.
องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
องฺคุลิมาล : (ปุ.) องคุลิมาล ชื่อคนผู้มีมาลัยทำด้วยนิ้วมือชื่อคนผู้เป็นโจร, พระเถระนามว่า องคุลิมาล.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
โอปุญฺฉติ : ก. ทำให้เป็นกอง, ตะล่อม, ห่อ; ทา, ถู, เช็ด, ล้าง, ขัด
โอปุญฺฉน,- ปุญฺชน : นป. การนำมารวมกัน, การทำให้เป็นกอง, กอง, ชั้น, การทา, การถู, การเช็ด