Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อุ๊ย , then อย, อุ๊ย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อุ๊ย, 59 found, display 1-50
  1. อย : (ปุ.) เหล็ก.วิ.อยตินานากมฺมารกิจฺเจสุโยคํคจฺฉตีติอโย.อยฺคติยํ, อ.ส.อยสฺ.
  2. อย : ป., อิต. (คน) นี้
  3. อยนงฺคล : (นปุ.) ไถเหล็ก.
  4. อยปาณิ : (ปุ.) เกรียงเหล็ก.
  5. อยปาณิกา : (อิต.) เกรียงเหล็ก.
  6. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  7. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  8. ชย : (วิ.) ผู้ชนะ วิ.ชินาตีติ ชโย.ชิ ชเย, อ. โณ วา. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  9. ชยฺย : (วิ.) ประเสริฐ, เจริญ, ชิ ชเย, โย.แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
  10. ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
  11. ตณฺหงฺกร : (วิ.) ผู้เบียดเบียนตัณหา, ผู้กำจัด ตัณหา. วิ. ตณฺหํ กิโณตีติ ตณฺหงฺกโร. ตณฺหาปุพฺโพ, กิ หึสายํ, อ. แปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ร รัสสะ อา ที่หาเป็น อ ลง นุ อาคมแปลงเป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ รูปฯ ๕๕0 กัจฯ ๕๒๕ วิ. ตณฺหํ กโรตีติ ตณฺหงฺกโร กรฺ หึสายํ.
  12. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  13. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  14. ทยฺย : (ปุ.) คนไทย (เจริญรุ่งเรืองด้วยความดี). ทุ วุฒฒิยํ, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อย ซ้อน ย.
  15. ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
  16. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  17. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  18. นิริย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อย รฺ และ อิ อาคม ดู นิรย ประกอบ.
  19. ปย : (ปุ.) นม (นมสด), น้ำ, น้ำนม, วิ. ปาตพฺพนฺติ ปโย. ปา ปาเน, โณ. แปลง อา เป็น อิ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย หรือ ตั้ง ปยฺ คติยํ, อ.
  20. ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
  21. พฺยตฺตย : (ปุ.) ความแปรปรวน, ความตรงกันข้าม. วิ อติปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย แมลง วฺ เป็น พ. ลบ อิ ที่ ติ บวก อย ซ้อน ตฺ.
  22. มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
  23. อุภย : (วิ.) ทั้งสอง วิ. อุโภ อํสา อสฺส อุภยํ. อุภศัพท์ อย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙. ส. อุภย.
  24. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  25. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  26. ควย : (ปุ.) โคลาน, ฯลฯ. วิ. โค วิย อยตีติ ควโย. อยฺ คมเน, อ. ค
  27. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  28. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  29. ทกฺขิณายน : (นปุ.) ทักขิณายน คือการที่พระ อาทิตย์เป็นไปสู่ทิศใต้ ( ตามสายตาของ ชาวโลก ) วิ. ทกฺขิณํ ทิสํ อยติ สุริโย เอตฺถาติ ทกฺขิณายนํ. ทกฺขิณาปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ.
  30. ทิวาทิวสฺส : อ. แต่ยังวัน, ทั้งยังวันๆ อยู่
  31. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  32. นิวสติ : ก. พัก, อาศัยอยู่, อยู่
  33. ปรายณ ปรายน : (นปุ.) ปรายณะ ปรายนะ ชื่อพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. ปเรหิ อุตฺตเมหิ อริยปุคฺคเลหิ อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ ปรายนํ วา. ปรโต วา. อยิตพฺพนฺติ ปรายณํ, ปรปุพฺโพ, อยฺ คติยํ, ยุ. ปเรสํ วา อริยปุคฺคลานํ ปติฏฐานตฺตา ปรายณํ.
  34. พลติ : ก. อยู่
  35. วสต : กิต. อยู่
  36. วิหรติ : ก. อยู่
  37. วุสฺสติ : ก. อยู่
  38. สมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอัน...พึงถึงในเบื้องหน้าพร้อม, โลกอันสัตว์พึงถึงในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า, ปรโลก. สํ ปเร ปุพฺโพ, อยฺ คตยํ, อ.
  39. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  40. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  41. สหาย สหายก : (ปุ.) มิตร, สหาย (ผู้ร่วมสุขร่วมทุกข์ ผู้ร่วมการงานกัน), เพื่อน. วิ. สห อยติ กิจฺเจสูติ สหาโย. สหปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. สห หานิ อโย วุทฺธิ วา ยสฺส โส สหาโย. ผู้เสื่อมและผู้เจริญด้วย คือเพื่อนได้ดีมีลาภยศสรรเสริญและสุข ก็ยินดีด้วย เพื่อนเสื่อมลาภไร้ยศหมดสรรเสริญ และได้ทุกข์ ก็เสียใจด้วย เป็นทุกข์ด้วย. ส. สหาย.
  42. สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
  43. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  44. หายน : (ปุ.) ปี. ชหติ ภาเวติ หายโน. หา จาเค, ยุ, ยฺ อาคโม. ปทตฺเถ ชหนฺโต อยตีติ วา หายโน. อยฺ คติยํ, ยุ.
  45. อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  46. อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
  47. อธิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก, สิง
  48. อธิวาเสติ : ก. ๑. อยู่, รอคอย, อดทน ; ๒. รับนิมนต์, ตกลง
  49. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  50. อภินิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก
  51. [1-50] | 51-59

(0.0200 sec)