เผคฺคุก : ค. มีกระพี้, มีเปลือกนอก, อ่อน, ไม่แข็งแรง
มชฺชว : (วิ.) เป็นของอ่อน, อ่อน, อ่อนโยน.
มนฺท : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, พาล (อ่อน), อ่อน, อ่อนแอ, เพลีย, มัว, รางๆ. มนฺทฺ ชฬตฺเต, อ.
สณฺห : ค. เกลี้ยงเกลา, อ่อน, นุ่ม, สุภาพ
สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
สิลฏฺฐ : ค. เกลี้ยง, เรียบ, อ่อน
สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
อพล : (วิ.) ไม่มีกำลัง, ไม่มีแรง, อ่อน, เพลีย.ส.อพล.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
มุทุ, มุทุก : ค. อ่อน
อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
อปฺปอปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน.วิ.อเปสิอิสกมตฺตมคมาสีติอปฺปํ.อปฺปาปุณเน, โป.อลฺภูสเนวา, โป. ศัพทฺหลังกสกัด.ส.อลฺปก.
โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
ยุว ยุวาน : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, สาว, เยาว์ (อ่อนวัย รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว). ยุ มิสฺสเน, อ, อุวาเทโส.
กปฺปาสสุขุม : ค. มีเนื้อฝ้ายที่อ่อนนุ่มนิ่ม
กปิล : (ปุ.) กปิละ ชื่อคน ชื่อปลา, โคมีสีแดง,โคแดง, สีดำแดง, สีเหลือง, สีน้ำตาลอ่อน, วิ. อกพิ นีลา ทิวณฺณตฺตํ อคมีติ กปิโล กพิ วณฺเณ, อิโล, พสฺส โป. ส.กปิล.
กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
กลภ : ป. ช้างอ่อน, ช้างหนุ่ม
กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
กลาร : ค. เป็นสีน้ำตาลอ่อน
กลาร กฬาร : (ปุ.) ดำเหลือง, สีดำเหลือง, ดำแดง, สีดำแดง, สีน้ำตาลอ่อน, สีคล้ำ. วิ. เอเตน คุณํ กลียตีติ กลาโร กฬาโร วา. กลฺ สํขฺยาเณ, อาโร.
กสลย : นป. ใบไม้อ่อน
กายมุทุตา : อิต. ความอ่อนของร่างกาย, ความอ่อนแห่งนามธรรมคือเจตสิก
กิญฺจิรตฺต : (ปุ.) แดงน้อย, แดงอ่อน, แดงเรื่อ (สี...).
กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
ขตฺติยสุขุมาล : ค. ผู้ละเอียดอ่อน, ผู้นุ่มนวลเหมือนกษัตริย์, ผู้ดี
คชโปตก : ป. ลูกช้าง, ช้างอ่อน
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จิตฺตมุทุตา : อิต. ความอ่อนโยนแห่งจิต
ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
ตรุณทารก : (ปุ.) ทารกอ่อน.
ตรุณปุตฺต : (วิ.) มีบุตรอ่อน, มีลูกอ่อน.
ตรุณภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง....อ่อน, ฯลฯ.
ตรุณวจฺฉก : (ปุ.) โคลูกอ่อน.
นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
นาคร, (นาคริก) : ค. ผู้อยู่ในเมือง, ชาวเมือง, อย่างชาวเมือง, สุภาพ, อ่อนโยน
นิตมติ : ก. มืดมน, เหนื่อยอ่อน, ลำบาก
นิมฺมกฺขิก : (วิ.) มีตัวอ่อนออกแล้ว, ไม่มี ตัวอ่อน.
นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
ปฏิกา : อิต. ผ้าขาวลาด, เนื้ออ่อน
ปณฺฑุ : ค. เหลืองอ่อน, ขาวเหลือง
ปริยาทาติ : ก. เหนื่อยอ่อน, หมดแรง, ถือเอา, ควบคุม