อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
อาน : (นปุ.) ลมหายใจออก.วิ.อนฺนติอเนนาติอานํ. อนฺปาณเน, โณ. อานนฺติอสฺสาโสอปานนฺติปสฺสาโส.แปลว่าลมหายใจเข้าอุ.อานาปนสติสติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.ส.อาน.
อาน, อาณ : นป. การหายใจเข้า, ลมหายใจ
ปฐติ : ก. อ่าน, ท่อง, สวด
เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
นิปฐ : ป. ปาฐะ, การสอน, ความฉลาด, การเรียน, การหัดอ่าน
นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
ปฏิมนฺตก : ป. ผู้พูดโต้ตอบ, คู่สนทนา; ผู้มีปัญญาเครื่องคิดอ่าน, ผู้รู้จักคิด
ปฐน : นป. การอ่าน, การท่อง, การสวด
ปาฐ : ป. เรื่องราว; วิธีสาธยายคัมภีร์, การอ่านคัมภีร์; คัมภีร์, บาลี
ปาฐก : ค. ผู้แสดง, ผู้อ่าน, ผู้รู้, ผู้สาธยายคัมภีร์, ผู้ชำนาญ
พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑. ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓. ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
วาจน : นป. การกล่าว, การสวด, การอ่าน
อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
อชฺฌยนอชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด.อธิ+อิ+ยุ ปัจ.แปลงอธิเป็น อชฺฌอิเป็น เอ เอเป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
อชฺฌยน อชฺฌายน : (นปุ.) การศึกษา, การเรียน, การท่อง, การอ่าน, การสวด. อธิ+อิ+ยุ ปัจ. แปลง อธิ เป็น อชฺฌ อิ เป็น เอ เอ เป็น อย, อาย. ยุ เป็น อน.
อชฺฌายน : นป. การอ่าน, การสาธยาย
อณอณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย.อณฺสทฺเท, ศัพท์หลังกสกัด.
อณ อณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย. อณฺ สทฺเท, ศัพท์หลัง ก สกัด.
อานย : (ปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
อานยน : (นปุ.) การนำมา. อาปุพฺโพนินีวานยเน, อ, ยุ, ส. อานยอานยน.
อานณฺย : นป. ความไม่มีหนี้
อานยติ : ก. นำมา, ไปพามา
อานิ : (นปุ.) สิ่งอันบุคคลพึงได้, ผล.อาปุพฺโพ, นิปาปเน, อิ.
ขตฺติยานี : (อิต.) นางกษัตริย์, ฯลฯ. วิ. ขตฺติยสฺส อปจฺจํ ขตฺติยานี. อาน ปัจ. อี อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๓ ลง อานี ปัจ.
ทตฺติม : (วิ.) เกิดแล้วด้วยการให้, เกิดแล้ว ด้วยทาน. วิ. ทาเนน นิพฺพตฺตํ ทตฺติมํ. ทาน+ตฺติม ปัจ. ลบ อาน รูปฯ ๖๕๔.
มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
สปฺปาน : (ปุ. นปุ.) คราบงู. สปฺป+อาน.
สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
ชานนก : (วิ.) ผู้รู้. ณวุ ปัจ แปลงเป็น อานนก. รูปฯ ๕๕๖.
อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.
อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
อรญฺญานี : (อิต.) ป่าไม้ใหญ่, ป่าใหญ่, ดง.เมื่อลงอีอิต. ให้เอาอที่ญเป็นอาน.
อสฺสตฺถร : ป. เครื่องลาดม้า, อานม้า
อสฺสภณฺฑก : นป. ผ้าปูหลังม้า, อานม้า, เครื่องแต่งม้า
อาสีน : (วิ.) นั่ง, นั่งอยู่. อาสฺ อุปเวสเน, โต. ตสฺส อีโณ, ณสฺส โน.อาปุพฺโพ, สิ นิสฺสเย, อาโน, อานสฺส อีโน. สิทฺ คตฺยวสาเน วา, อ, ทสฺส โน, ทีโฆ.