อชฺชก : ป. แมงลัก, อ้อยช้าง, ผักบุ้งร้วม
อชฺชก อชฺชุก : (ปุ.) แมงลัก, อ้อยช้าง, ผักบุ้งล้อม.อชฺ คมเน, โก, ทฺวิตฺตํ (แปลงชเป็นชฺช). อชฺช ปติสชฺชนสงฺขาเรสุ วา, อุโก.
สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
สลฺลกี : (อิต.) อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยา, ช้างน้าว.
มหาโสณ : (ปุ.) ไม้อ้อยช้างใหญ่.
อินฺทสาล : ป. ช้างน้าว, ไม้อ้อยช้าง
อินฺทสาล อินฺธสาล : (ปุ.) ไม้อ้อยช้าง, ไม้ ช้างน้าว.
กรี : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้าง, ช้างพลาย, ไอยรา. ส. กริน.
ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
หตฺถี : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้าง, ช้างพลาย, หัสดี, หัสดิน, ไอยรา. หตฺโถ อสฺส อตฺถีติ หตฺถี. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. หสฺติ, หสฺตินฺ.
กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
กุญฺจ : (ปุ.) ช้าง. กุชิ สทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม, ชสฺส โจ.
กุรณฺฑก กุรุณฺฑก : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหาง- ช้าง. กุรฺ สทฺเท, โฑ, สกตฺเถโก, ณฺสํโยโค.
คช, คชก : ป. ช้าง
จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
ถูลปาท : ป. ช้าง
ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
นคช : (ปุ.) ชนเกิดที่ภูเขา, คนชาวเขา, ชาว เขา, สัตว์เกิดที่ภูเขา, ช้าง.
นาคี : (ปุ.) งู, ช้าง.
ปโตท : ป. ประตัก, เครื่องแทง, ขอสับ (ช้าง) ; เดือย, เดือยไก่
รสาล : ป. อ้อย
วารณ : ๑. นป. การกั้น, การป้องกัน;
๒. ป. ช้าง
สินฺธุร : (ปุ.) ช้าง. ส. สินธุร.
หตฺถาณึก หตฺถานึก : (นปุ.) หัตถานึก ช้าง ๓ เชือก แต่ละเชือกมีพลประจำ ๑๒ คน ชื่อ หัตถานึก, กองพลช้าง, กองทัพช้าง.
อกฺโขภินี : อิต. สังขยาจำนวนหนึ่งมีศูนย์ ๔๒ ตัว, กองทัพที่มีทหาร ๑๐๙,๓๕๐ คน ม้า ๖๕,๖๑๐ ตัว ช้าง ๒๑,๘๗๐ เชือก และพลรถ ๒๑,๘๗๐ คัน
อฏฺฐมงฺคล : (นปุ.) มงคลแปด, มงคลแปด คือ กรอบหน้า คธา สังข์ จักร ธง ขอ ช้าง โคเผือก และ หม้อน้ำ.
อิกฺขว อิกขุ : (ปุ.) อ้อย. ส. อิกฺษว.
อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)
อุจฺฉาร : (ปุ.) อ้อย. อุปุพฺโพ, ฉรฺ เฉทเน, โณ, จฺสํโยโค.
อุจฺฉุ : (ปุ.) อ้อย วิ. อุสติ สนฺตาปนนฺติ อุจฺฉุ. อุสฺ ทาเห, อุ, สสฺส จฺโฉ. อิสุ อิจฺฉายํ วา, อุ, อุสฺสุ, สสฺส โฉ, อสรูปทฺวิตฺตํ. ส. อักฺษว.
อุพฺพุฬฺหวนฺต : ค. ที่เจริญยิ่งนัก, (ช้าง) ตัวประเสริฐ, เป็น อุรุฬฺหวนฺต ก็มี
กกฺโกฏก : ป. ต้นมะตูม, ต้นอ้อย
กงฺกต : นป., ป. กูบช้าง, ต้นไม้
กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กฏฐหตฺถี : ป. ช้างที่ทำด้วยไม้
กฏมฺภรา : อิต. บัวคำชนิดหนึ่ง; ช้างพัง
กเณรุ : (ปุ.) ช้างพลาย. กณฺ สทฺเท, อิรุ.
กเณรุกา : (อิต.) ช้างพัง. ก สกัด อาอิต. ลง อิณุ ปัจ. เป็น กเรณุกา บ้าง. แปลง ณฺ เป็น รฺ.
กตหตฺถิก : ป. ช้าง, ตุ๊กตารูปช้าง
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กริณี : (อิต.) ช้างพัง, ช้างตัวเมีย, นางช้าง, กริณี, กรินี, กิริณี, กิรินี.
กเรณุ : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้างพลาย, ช้างสาร. กร+อิณุปัจ. ส. กเรณุ, กรรณู.
กเรณุกา : (อิต.) ช้างพัง. เป็น กริณุกา บ้าง.
กเรณุ, - ณุกา : อิต. ช้างพัง, ช้างตัวเมีย
กลภ : ป. ช้างอ่อน, ช้างหนุ่ม
กลภ กฬภ : (ปุ.) ช้างหนุ่ม, ช้างรุ่น, ลูกช้าง. วิ. กลียติ ปริมียติ วยสาติ กลโภ กฬโภ วา. กลฺ สงฺขฺยาเณ, อโภ. ส. กลภ.
กฬภ : ป. ช้างรุ่น
กฬาริกา : อิต. ช้างพังเชือกใหญ่ชนิดหนึ่ง
กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.