ทีฆวส : (ปุ.) ตระกูลเก่า, วงศ์เก่า, ไม้ไผ่, ต้นไผ่, ต้นอ้อ.
ธมน : (ปุ.) ไม้อ้อ, ไม้เลา (ต้นไม้จำพวกอ้อ ดอกสีขาวมอๆ). ธมฺ สทฺทคสิสํโยเคสุ. ยุ.
ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
นล : ป. ไม้อ้อ, ไม้เลา
นลกลาปี : ป. ฟ่อนไม้อ้อ
นลคฺคิ : ป. ไฟแห่งไม้อ้อ, ไฟที่เกิดจากไม้อ้อ
นลคาร : ป., นป. เรือนไม้อ้อ
นลทณฺฑก : นป. ก้านไม้อ้อ; หลาวที่ทำด้วยไม้อ้อ
นลนฬ : (ปุ.) ไม้ไผ่, ไม้รวก, ไม้อ้อ, ไม้เสา, นิ นเย, อโล. ลบ อิ ศัพท์หลังแปลง ล เป็น ส. นฑ, นล.
นลมย : ค. ซึ่งกระทำด้วยไม้อ้อ, สำเร็จด้วยไม้อ้อ
นลวน : นป. ป่าไม้อ้อ
นลสนฺนิภ : ค. มีสีงามเหมือนสีไม้อ้อ
นลเสตุ : ป. สะพานไม้อ้อ
นฬ : ป. ต้นอ้อ, หลอด, ท่อ, กล้อง
นฬการ : ป. ฟ่อนไม้อ้อ
นฬปี : ป. ฟ่อนไม้อ้อ
นฬาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันบุคคลมุงแล้วและบังแล้วด้วยไม้อ้อวิ.นเฬหิฉนฺน-ปริฉนฺนาอคารานฬาคารา.
โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
วิลีว : นป. ไม่ไผ่, ต้นอ้อ
อุนฺนฬ : (ปุ.) ความมีมานะดังว่าไม้อ้อสูง, ความเชิดตัว.
อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.