นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
นิทสฺสน : (วิ.) แสดงออก, อ้าง, อ้างถึง, เป็น ตัวอย่าง.
อนุกสฺสติ : ก. ๑. สวด, สาธยาย, อ้าง;
๒. คร่าออก, ฉุดออก, ดึงออก
สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
สมฺปทาน : (วิ.) เป็นที่มอบให้แห่งชน, เป็นที่อันเขามอบให้, เป็นที่มอบให้, อ้าง.
ตพฺพิสย : ค. มีสิ่งนั้นเป็นข้ออ้าง, มีสิ่งนั้นเป็นขอบเขต
ทิฏฺฐิ : อิต. ทิฐิ, ความเห็น, ทฤษฎี, ความเชื่อถือ, หลักสิทธิ; ความเห็นผิด
นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
นิทสฺสิต : ค. อัน...ชี้แจงแล้ว, อัน...อธิบายแล้ว, อัน...แสดงแล้ว, ซึ่งถูกอ้างถึงแล้ว
ปุริมสิทฺธิ : (อิต.) สิทธิ์อันมีในก่อน, บุริสิทธิ์ คือ อำนาจอันชอบธรรมที่เรียกได้ก่อนสิทธิธรรมดา.
เลส : ป. ของเล็กๆ น้อย ๆ; ข้ออ้าง, เลศนัย, เล่ห์เหลี่ยม
สมฺภาวน : (นปุ.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
สมฺภาวนา : (อิต.) การสรรเสริญ, การอวดอ้าง, ความสรรเสริญ, ความอวดอ้าง, สํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, ยุ.
สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
อปทิส : (ปุ.) การอ้าง, การแสดงอ้าง, การกล่าวอ้าง, การชี้แจง.
อปทิสติ : ก. แสดงหลักฐาน, นำมาอ้าง
อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
อพฺโภหาริก : ค. พิเศษ, พูดไม่ได้ว่ามีหรือไม่มี, ไม่ควรอ้างเป็นกฏเกณฑ์
อาเทสนา : (อิต.) อันแสดงอ้าง, ความแสดงอ้าง.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, ยุ.
อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
อิติหีติห : (วิ.) เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาอย่างนี้ อย่างนี้, เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาดังนี้ดังนี้, จริงอย่างนี้, จริงอย่างนี้อย่างนี้.
อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
อุทาหฏ : กิต. อุทานแล้ว, เปล่งแล้ว, นำมาอ้างแล้ว
อุทาหรติ : ก. เปล่ง, สวด, ยกมาอ้าง
อุปเทส : (ปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่อาจารย์ใน ปางก่อน, คำสอนที่สืบกันมาแต่อาจารย์ ในปางก่อน, อุบายเป็นเครื่องเข้าไปแสดง อ้าง, การแนะนำ, การสั่งสอน, การชี้แจง, คำแนะนำ, ฯลฯ. วิ. อาจาริยํ อุปคนฺตฺวา ทิสฺสตีติ อุปเทโส. อุปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ. ส. อุปเทศ.
อุลฺลปน : (นปุ.) คำอัน...กล่าวขึ้น, คำกล่าว อ้าง, การกล่าวอ้าง, การเรียกร้อง. อุปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, ยุ.
สิทฺธ : (วิ.) เสร็จ, สำเร็จ, สัมฤทธิ์, ให้ผลเป็นนิตย์, สิทฺธ สํสิทฺธิยํ, อ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ วา, โต. แปลง ต เป็น ธ แปลงที่สุดธาตุเป็น ทฺ รูปฯ ๕๙๘.
สุทฺธ : (วิ.) ไม่เจือปน, หมดจด, แจ่มใส, ผ่องแผ้ว, สะอาด, บริสุทธิ์, ล้วน, ล้วน ๆ, แท้, สิ้นเชิง, ผุดผ่อง. สุทธฺ โสเจยฺเย, โต, ทฺวิตฺตํ, ธโลโป.
สทฺธ : ค. มีศรัทธา, มีความเชื่อ
สทฺธึ : อ. กับ
สุทฺธิ : (อิต.) สุทธิ ชื่อของพระนิพพาน ชื่อ ๑, พระนิพพาน.
กฏาห : (นปุ.) กะโหลก, กระทะ, อ่าง, กระเบื้อง. ฆฏิกฏาเหน ปิณฺฑาย จรนฺติ. ภิกษุท. ใช้กระเบื้อง หม้อบิณฑบาต. ไตร. ๗/๕๒. ส. กฏาห.
โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
มคธ : (ปุ.) มคธ ชื่อชนบทพิเศษของอินเดียโบราณ ปัจจุบันเรียกว่า พิหาร วิ. มเคน สทฺธึ ธาวนฺตีติ มคธา. มคปุพฺโพ, ธาวฺ คติสุทฺธิยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ. มํเสสุ คิชฺฌนฺตีติ มคธา. มํสปุพฺโพ, คิธฺ อภิกํขายํ, อ. ลบ อํส และ ธฺ.
มณิก : (นปุ.) อ่าง, ไห, ขวด, หม้อ, หม้อน้ำ, โอ่งน้ำ. มนฺ ญาเณ, อิ. ก สกัด.
สิทฺธนฺต : (ปุ.) ความเห็น, ลัทธิ. วิ. ฐโต ปกฺโข สิทฺธนฺโต. สิทฺโธ อนฺโต อเนนาติ สิทฺธนฺโต.
สุโคจร : (วิ.) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์. สุทฺธิ + โคจร. ลบ ทฺธิ.
สุทฺธาวาส : (ปุ.) สวรรค์ชั้นสุทธาวาส ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ใน ๑๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของพระอนาคามี. วิ. สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติ สุทฺธาวาโส.
โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.
อรญฺชร : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, ตุ่มใหญ่.วิ. อรํสีฆํชราอสฺเสติอรญฺชโร.
อรญฺชอรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม.อาปุพฺโพ, รชิวิชฺฌเน, อ, รสฺโสศัพท์หลังกสกัด.
อรญฺช อรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม. อาปุพฺโพ, รชิ วิชฺฌเน, อ, รสฺโส ศัพท์หลัง ก สกัด.
อรญฺช, อรญฺชร : ป. ตุ่มใหญ่, อ่าง, ไห, ขวด
อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
อารญฺช : (นปุ.) อ่าง, อีเลิ้ง ( ตุ่มหรือโอ่งใหญ่)