ตีวร : (ปุ.) ทะเล, สมุทร, พราน, นายพราน. ส. ตีวร.
อณฺณว : (ปุ.) ทะเล, สมุทร, มหาสมุทร, ละหาน (ห้วงน้ำ), แม่น้ำ, สระน้ำ, วิ.อณฺโณ ยสฺมึ วาตีติ อณฺณโว.วา อณฺณโว วิทฺสตฺตายํ, อ. ลบที่สุดธาตุ และ อิ. ส. อรฺณว
อมฺพุราสิอมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล.ส.อมฺโภราศิ.
อมฺพุราสิ อมฺโพราสิ : (นปุ.) ประชุมแห่งน้ำ, กองแห่งน้ำ, น้ำสมุทร, สมุทร, ทะเล. ส. อมฺโภราศิ.
สมุทฺท : (ปุ.) สมุทร, ทะเล. วิ. สมํ อุทเกน โลณํ เอตฺถาติ สมุทฺโท. สํ สุฏฐุ อุทนฺติ เอตฺถาติ วา สมุทฺโท, สํปุพฺโพ, อุทิ ปสเว, โท. ส. สมุทร.
อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
กาลวณ : (นปุ.) เกลือ, เกลือน้อย. วิ. กุ อปฺปกํ ลวณํ กาลวณํ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๓๓๖ รูปฯ ๓๓๒ โมคฯ สมาส กัณฑ์ ๑๐๘.
กาฬโลณ : (นปุ.) เกลือมีสีดำ, เกลือดำ. วิ. กาฬวณฺณํ โลณํ กาฬโลณํ.
ฌามก ฌาวุก : (ปุ.) ไม้ชาเกลือ? ไม้กรดมูก, ไม้ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
ตณฺหาสมุทฺท : ป. สมุทรคือตัณหา
พิลาล พิฬาล : (นปุ.) เกลือที่บุคคลยังดินในที่ใกล้ทะเลให้สุกทำขึ้น, เกลือสะตุ. เกลือสินเธาว์ ก็ว่า.
ลวณ : นป. เกลือ, รสเค็ม
โลณ : ๑. นป. เกลือ;
๒. ค. มีรสเค็ม
โลณผล : นป., โลณสกฺขรา อิต. ก้อนเกลือ
โลณิก : ค. เกี่ยวกับเกลือหรือด่าง
โลณี : อิต. หนองน้ำ; อ่างเกลือ
สามุทฺท : (นปุ.) เกลือที่ได้จากพื้นที่ใกล้ทะเล. วิ. สมุทฺทภูมิยํ อวฎฺฐตํ ลฺทธํ สามุทฺทํ. ณ ปัจ.
อโลณ, อโลณิก : ค. ไม่เค็ม, ปราศจากเกลือ
อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
โอสว : (ไตรลิงค์) ตำบลมีดินเค็ม, ที่มีเกลือ. สีหฬ เป็น อูสว.