เกสร : (ปุ.) บุนนาค, ไม้บุนนาค. อติสยปุปฺผ- เกสรวนฺตตาย เกสโร. กิสฺ ตนุกรเณ, อโร. ปุปฺผเกสยุตฺตตาย วา เกสโร. โร.
เกสรภาร : ป. พัดชนิดหนึ่ง
เกสรสีห : ป. ไกรสรราชสีห์, ราชสีห์ชาติไกรสร, สิงโตมีขนสร้อยคอ
ผลเกสร : ป. ผลมะพร้าว, ลูกมะพร้าว
กิญฺชกฺข : (ปุ.) เกษร (ส่วนในของดอกไม้) วิ. กิสฺมึ (ในดอกไม้) ชายติ ชลตีติ วา กิญฺชกฺโข. กิปุพฺโพ ชนฺ ชนเน, ชลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, นสฺส ลสฺส วา กการตฺตํ, นิคฺคหิ ตาคโม.
เกสรี : (ปุ.) สิงโต, ราชสีห์, ไกสรี, ไกรสรี, ไกศรี, ไกรศรี. เกสรโยคา เกสรี. เกสา เอตสฺส สีหสฺส อตฺถีติ วา เกสรี. ส. เกศริน.
ถิรช ถีรช : (ปุ. นปุ.) เกสรของหญิง,ประจำเดือนของหญิง,โรคประจำเดือนของหญิง,ระดูของหญิง.
ปราค : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
โปกฺขรมธุ : นป. เกสรดอกบัว
สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
สุรภิ : (ไตรลิงค์.) ของหอม, เครื่องหอม, สารภี ชื่อต้นไม้ดอกหอมใช้ทำยาไทยอยู่ในกลุ่มเกสรทั้งห้า. วิ. สุฎฺฐุ รภนฺติ ตุสฺสนฺตฺยเน เนติ สุรภิ. รภฺ ตุสฺสเน, อิ. พิมเสน ก็แปล. ส. สุรภิ.