Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เกส , then กส, เกศ, เกษ, เกส, เกสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เกส, 78 found, display 1-50
  1. เกส : (ปุ.) ผม วิ. เก สีเส เสนฺตีติ เกสา. กปุพฺโพ, สิ วุฑฺฒิยํ, อ. เก มตฺถเก เสติ ติฏฺฐตีติ เกโส. ก ปุพฺโพ, สี สเย, อ. ส.เกศ
  2. เกส : (วิ.) มีผม (ผมดก) วิ. เกสา อสฺส อตฺถีติ เกสโว. ว ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รูปฯ ๓๘๒. ส.เกศว.
  3. เกสธาตุ : อิต. ธาตุคือพระเกศ, พระเกศธาตุ (ของพระพุทธเจ้า)
  4. เกสกลาป : ป. มัดแห่งผม, ปอยผม, จุกผม
  5. เกสการิก : ค., ป. ผู้แต่งผม; ช่างแต่งผม; กัลบก
  6. เกสนิวาสี : ค. (เปรต) ผู้นุ่งผม, ผู้มีผมรุงรัง, ผู้มีขนที่ลับดก
  7. เกสยติ : ก. ซูบผอม
  8. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  9. อุทเกส : (วิ.) มีผมอันชุ่มแล้วด้วยน้ำ. วิ. อุทเกน ตินฺตเกโส อุทเกโส. อถวา, อุทก ตินฺตาเกสา ยสฺส โส อุทเกโส. ลบ ก ที่ อุทก.
  10. กาฬเกส : ค. ผู้มีผมดำ, ผู้มีผมเป็นเงางาม
  11. กุณฺฑลเกส : ค. มีผมเป็นลอน, มีผมหยักเป็นคลื่น, มีผมดัด
  12. ตมฺพเกส : ค. มีผมสีน้ำตาล
  13. ทฺวงฺคุลเกส : (วิ.) มีผลสององคุลี (๒นิ้ว).
  14. นิกฺเกสสีส : (ปุ.) คนมีศรีษะมีผมออกแล้ว, คนหัวล้าน.
  15. โลเกส : ป. พรหม
  16. อลฺลเกส : ป. ผมที่สระใหม่, ผมเปียก
  17. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสเกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  18. เกส : (ปุ.) บุนนาค, ไม้บุนนาค. อติสยปุปฺผ- เกสรวนฺตตาย เกสโร. กิสฺ ตนุกรเณ, อโร. ปุปฺผเกสยุตฺตตาย วา เกสโร. โร.
  19. เกสกมฺพลี : ค. ผู้ห่มผ้ากัมพลที่ทำด้วยผมมนุษย์ (หมายถึงอชิตเกสกัมพล)
  20. ขลฺลาฏ : (ปุ.) คนหัวล้าน วิ. นิกฺเกสตฺตา ขํ ตุจฺฉํ สีสํ ลาตีติ ขลฺลาโฏ. ขปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อโก. ขล ขลนสญฺจเยสุ วา. ซ้อน ลฺ เป็น ขลฺลาต บ้าง.
  21. จกฺกปาณิ : (ปุ.) พระจักกปาณิ (ผู้มีจักรใน พระหัตถ์) ชื่อพระนารายณ์ ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่ออีก๕ ชื่อถือ วาสุเทว หริ กณฺห เกสว. พระนารายณ์หรือพระวิษณุ เป็นชื่อของพระเจ้า องค์เดียวกัน เป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของศาสนาฮินดู.
  22. เกสเกส : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
  23. กสทน : ป. ปรอท
  24. กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
  25. กีส : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ. กิสฺ สาเน, อ. ทีโฆ.
  26. โกสิ : (อิต.) ฝัก เช่นฝักดาบเป็นต้น. กุสฺ สิเลสเน, อิ.
  27. อุกฺกส : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. อุทฺธํ โกสตีติ อุกฺกโส. อุทฺธํปุพฺโพ, กุสฺ สทฺเท, อ.
  28. อุกส อุกฺกส : (วิ.) ยิ่ง, ยิ่งยวด, ดียิ่ง, สูงสุด, อุกฤษฎ์, อุกกฤษฎ์. อุปุพฺโพ, กสฺ วิเลขนคมเนสุ, อ.
  29. กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
  30. กสิ, - สี : อิต. การเพาะปลูก, การไถ, การหว่าน
  31. กสี : อิต. การเพาะปลูก, การไถนา
  32. กิส, กิสก : ค. ผอม, บาง, ร่างน้อย
  33. กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
  34. กุส : (วิ.) ตัดบาป วิ. กุ สาติ ตนุ กโรตีติ กุสํ. กุปุพฺโพ, สา ตนุกรเณ, อ.
  35. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  36. กุสิ : นป. ผ้ากุสิ, ชิ้นผ้าตัวยืนเล็กรียาวต่อข้างมณฑล และอัฑฒมณฑลในจีวร ๕ ขันฑ์
  37. เกส : (ปุ.) อวัยวะมีผม, หัว. อี ปัจ.
  38. โกส : (วิ.) แย้ม, ตูม, แง้ม (เปิดน้อยๆ).
  39. โกสี : อิต. ป. ต้นมะม่วง; รองเท้า
  40. สุปณฺณวกสทน : (นปุ.) เรือนเหมือนปีกแห่งครุฑ, เรือนมุงแถบเดียว. สุปิณฺณ+วํก+สทิส+สทนํ.
  41. กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
  42. เกสรี : (ปุ.) สิงโต, ราชสีห์, ไกสรี, ไกรสรี, ไกศรี, ไกรศรี. เกสรโยคา เกสรี. เกสา เอตสฺส สีหสฺส อตฺถีติ วา เกสรี. ส. เกศริน.
  43. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  44. ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
  45. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  46. กจฺฉุ : (อิต.) โรคคัน, หิด, หิดเปื่อย, คุดทะราด, หูด, เต่าร้าง, หมามุ่ย. กสฺ หึสายํ, อุ, สสฺส จฺโฉ. ส. กจฉู.
  47. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  48. กสก : (ปุ.) ชาวนา, ผาล คือ เหล็กที่สวมหัว หมูของไถ ใช้ไถนาไถสวน. วิ. กสติ ภูมึ วิลิขตีติ กสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ.
  49. กสมฺพุ : (ปุ.) กาก, หยากเยื่อ. กสฺ วิเลขเณ, อมฺพุ. ลง ก สกัดเป็น กสมฺพุก บ้าง.
  50. กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
  51. [1-50] | 51-78

(0.0582 sec)