อุปลิกฺขติ : ก. ข่วน, ขีด, เกา, ทำให้บาดเจ็บ
กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
เกลิกา : อิต. พิณ, ไวโอลิน
เกลิกุญฺจิกา : อิต. ลูกสะใภ้
กณฺฑุ (ฑู) วติ : ก. เกา, ข่วน
กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
กณฺฑุติ : อิต. การเกา
กณฺฑูยา : อิต. การเกา, การข่วน
กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
โกกาสก : (ปุ.) บัวแดง วิ. เก กาสตีติ โกกาสโก กปุพฺโพ, กาสฺ ทิตฺติยํ, ณฺวุ, อสฺโส
กุฏิ, - กา : อิต. กุฎี, กระท่อม, ที่อยู่ของพระ
ฆรโคลิ (ฬิ) กา : อิต. จิ้งจก, ตุ๊กแก, ตุ๊ดตู่
อจฺจิ, - กา : อิต. เปลวไฟ, แสงแดด
เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทาฬนํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาฬน ลบ น แปลง ฬ เป็น ร เป็น อลุตตสมาส.
เกนิปาต : (ปุ.) ถ่อ, หางเสือ. วิ. เก ชเล นิปาตียเตติ เกนิปาโต. กระแชง เสา กระโดง?. ส. เกนิปาต.
เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กาโกณ : (ปุ.) กาป่า.
กาโกทุมฺพริกา : (อิต.) มะเดื่อปล้อง (ใบโต คาย) วิ. กากานํ อุทุมฺพโร กาโกทุมฺพโร, โส เอว กาโกทุมฺพริกา. อิก สกัด อาอิต.
กาโกปมา : อิต. เปรียบเหมือนกา, คล้ายกา, มีกาเป็นตัวอย่าง
กาโกรว : ป. เสียงร้องของกา, เสียงการ้อง
กาโกล : ป. นกดุเหว่า, กาป่า
กาโกล กาโกฬ : (ปุ.) กาป่า วิ. กาโก วิย อุลตีติ กาโกโล กาโกโฬ วา. อุลฺ คมเน, อ.
กาโกลูก : ป. กาและนกเค้า
กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่ากอแห่งกัจจะ, คนเป็นเชื้อวงศ์แห่งกัจจะ. แปลง กจฺจายน เป็น กาติยาน.
กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
กามาวจรกิริยา : อิต. จิตที่เป็นกิริยาฝ่ายกามาวจร
กามุก : (วิ.) ผู้ใคร่โดยปกติ วิ. กาเมติ สีเลนาติ กามุโก. ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามุโก. กมฺ กนฺติยํ, ณุโก.
กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
กายิก : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยกาย วิ. กาเยน กตํ กายิกํ. อันเป็นไปทางกาย วิ. กาเยน ปวตฺตํ กายิกํ. อันเป็นไปในกาย วิ. กาเย วตฺตตีติ กายิกํ. ณิก ปัจ.
การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
การี : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทำ วิ. อวสฺสํ เม กมฺมํ กาตํ ยุตฺโตสีติ การี. ณี ปัจ. ส. การิ ศิลปิน, ช่าง.
การุ : (ปุ.) คนมีศิลปะ, ช่าง, นายช่าง. วิ. กโรติ นิมฺมินาติ จิตฺรเลปฺยาทิก มิติ การุ. กรฺ กรเณ, ณุ. ส. การู.
การุก : (วิ.) ผู้ทำโดยปกติ วิ. กโรติ สีเลนาติ การุโก. ผู้มีปกติทำ วิ. กรณสีโล การุโก. ณุก ปัจ. กัจฯ ๕๓๖.
การุญฺญ : นป., การุญฺญตา อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
กาลิงฺค : (ปุ.) กาลิงคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. กลฺ สทฺเท, อิงฺโค.
กาเวรี : (อิต.) กาเวรี กเวรี ชื่อแม่น้ำสาย ๑ ใน ๕ สายของอินเดีย วิ. นานาคาหา กุลีภูตตาย กุจฺฉิตํ เวร มสฺสาติ กาเวรี. แม่น้ำ ๕ สายคือ จันทราคา สวัสวดี เนรัญชรา กาเวรี และนัมมทา แม่น้ำ ๕ สายอีกอย่าง ๑ ดู อจิรวตี.
กาสมทฺท : (ปุ.) กระเพา วิ. กาสํ มทฺทตีติ กาสมทฺโท. กาสปุพฺโพ, มทฺทฺ มทฺทเน, อ.