กุณฺฐ : ค., ป. เป็นง่อย, โค้ง, คดงอ; เกียจคร้าน, ไม่คม; คนเป็นง่อย
อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
อพฺภุ : ป. ความไม่มีประโยชน์, เกียจคร้าน
กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
นิทฺทาลุ นิทฺทาลู นิทฺทาสีล : (วิ.) มีปกตินอน (นอนมาก), เกียจคร้าน. นิทฺทา+อาลุ, อาลู ปัจ. นิทฺทา+สีล. ส. นิทฺราลุ, นิทฺราศีล.
มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
กุณฺฐ : (วิ.) เกียจคร้าน, เฉื่อยชา, เงื่องหงอย, ร่อย, เหี้ยน, กระจอก (เขยก), เขยก. กุฐิ อาลสิยคติปฏิฆาเตสุ, อ.
กุสีต : ค. เกียจคร้าน, เฉื่อยชา
กุสีตตา : อิต., กุสิตตฺต นป. ความเป็นคนเกียจคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา
โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
นิกฺโกสชฺช : (ปุ.) คนมีความเกียจคร้านออก แล้ว, คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน. วิ. โกสชฺชํ ยสฺส นตฺถีติ นิกฺโกสชฺโช.
นิพฺยาปารฏฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งชีวิต หาการงานมิได้, ความตั้งอยู่แห่งบุคคลผู้ มีความขวนขวายออกแล้ว, ความดำรง ชีวิตอยู่ของคนเกียจคร้าน.
อกิลาสุ : (ปุ.) คนไม่เกียจคร้าน, คนหมั่น, คนขยัน.
อตนฺทิต : (วิ.) ไม่เกียจคร้าน, ขยัน.
อตนฺทิต, อตนฺที : ค. ไม่เกียจคร้าน
อนลส : (วิ.) ไม่เกียจคร้าน, ขยัน.น+อลส.
อลส : (ปุ.) คยเกียจคร้าน.วิ.นลสติกีฬตีติอลโส.นปุพฺโพ, ลสฺกนฺติยํ, อ.อถวา, อลียตีติอลโส.อลฺพนฺธเน, โส.ความเกียจคร้านวิ.อลสนํอลโส.ส.อลส.
อสลฺลีน : ค. ไม่หลีกเร้น, ไม่เบี่ยงบ่าย, ไม่เกียจคร้าน
อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
อาลสิย : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน, ฯลฯ. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ. ณฺย ปัจ. ความเกียจคร้าน. ณฺย ปัจ. สกัด เมื่อลบ อ ที่สุดศัพท์ แล้ว ลง อิ อาคม รูปฯ ๓๗๑ หรือ ลง ณิย ปัจ. ตามสัททนีติ.
อาลสิย, - ลสฺย, - ลสฺส : นป. ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา