อนุพนฺธติ : ก. ติดตาม, เกี่ยวเนื่อง, ผูกพัน
อนุคามิกอนุคามี : (วิ.) ไปตามโดยปกติ, มีปกติไปตาม, เกี่ยวเนื่อง. ส. อนุคามี.
อนุคามิก อนุคามี : (วิ.) ไปตามโดยปกติ, มี ปกติไปตาม, เกี่ยวเนื่อง. ส. อนุคามี.
ปฏิจฺจ : อ., กิต. อาศัย, อิง, เนื่อง, เกี่ยวกับ
พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
กมฺมนิพนฺธน : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม
กายพทฺธ : ค. อันผูกพันทางกาย, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยกาย
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
นกฺข : (นปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
ปฏิพทฺธ : ค. ซึ่งเกี่ยวเนื่อง, ซึ่งเนื่องอยู่, ซึ่งอาศัย, อันติดอยู่, อันผูกพัน
ปรายตฺต : ค. ซึ่งเนื่องด้วยผู้อื่น, เกี่ยวกับคนอื่น, ซึ่งอาศัยผู้อื่น, ซึ่งเป็นของคนอื่น
ปวิเวกิย : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยความสงบ
สนฺธาน : (นปุ.) การต่อ, การเชื่อม, การเกี่ยวข้อง, การพัวพัน, การสืบต่อ, ที่ต่อ, สันธาน ชื่อของคำที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน. ยุ ปัจ.
สมฺพนฺธ : (ปุ.) การผูกพร้อม, การผูกด้วยดี, การผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, การติดต่อกัน, การเกี่ยวเนื่องกัน, ความผูกพัน, ฯลฯ, สัมพันธ์. สํปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ.
สมฺพนฺธติ : ก. เกี่ยวเนื่องกัน, สัมพันธ์กัน
สมฺพนฺธน : นป. การเกี่ยวเนื่อง, การสัมพันธ์กัน
หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
อนุพนฺธน : นป. การติดตาม, การเกี่ยวเนื่อง, การผูกพัน
อสมฺพทฺธ : ค. ไม่สัมพันธ์ด้วย, ไม่เกี่ยวเนื่องด้วย
อาพนฺธก : ค. อันผูกพัน, อันผูกมัด, เนื่องด้วย, เกี่ยวพัน
กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
ทายติ : ก. ตัด, เกี่ยว
อวขณฺฑติ : ก. ตัด, เกี่ยว
นิพทฺธ นิพฺพทฺธ นิวทฺธ : (อัพ. นิบาต) เนื่อง กัน, ฯลฯ.
เธยฺย : (วิ.) ตั้ง, เนื่อง.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
กจฺจาน กจฺจายน กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ, คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์.
กมฺมก : ค. ที่เนื่องด้วยกรรม, ซึ่งอาศัยกรรม
กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณา
กามโกฏฐาส : ป. ส่วนประกอบของกาม, หมวดธรรมที่เกี่ยวกับเรื่องกาม
กามโลก : ป. กามโลก, โลกที่เนื่องด้วยกาม
กายปฏิพทฺธ : ค. ที่เนื่องด้วยกาย, เกี่ยวข้องด้วยกาย
กาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยเวลา, ประกอบใน เวลา, เกี่ยวกับเวลา, ติดกับเวลา.
กุลิก : ค. เป็นไปกับด้วยตระกูล, ซึ่งเนื่องด้วยตระกูล, อันเป็นของตระกูล
โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
โกล : (วิ.) เกิดในสกุล, เชื้อสายในสกุล, เกี่ยวใน สกุล. วิ. กุเล ชาโต โกลํ. กุเล นิยุตโต โกลํ, ณ ปัจ.
ขาริก : ๑. ค. มีรสเค็ม, มีรสแสบ;
๒. ค. เนื่องด้วยมาตราตวงชื่อว่า ขารี
คณสงฺคนิก : ค. อันเกี่ยวข้องด้วยหมู่, อันนับเนื่องในหมู่
คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
ฆเฏติ : ก. พยายาม, สืบต่อ, ต่อเนื่อง
จาตุทฺทสิก : ค. ซึ่งเป็นไปในวันจาตุททสี, เกี่ยวกับวันจาตุททสี
จิตฺตเจตสิก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยจิตและเจตสิก
เจตนก : ค. ซึ่งเนื่องด้วยเจตนา, มีความคิด, มีความตั้งใจ
โจฬิย : ค. ซึ่งอยู่ในแคว้นโจฬะ, ซึ่งมีในแคว้นโจฬะ, ซึ่งเนื่องด้วยแคว้นโจฬะ, เป็นชาวแคว้นโจฬะ
ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.