ชิณฺณ ชิณฺณก : (วิ.) แก่, เก่า, คร่ำคร่า, ทรุด โทรม. ชรฺ วโยหานิมฺหิ โต, อิณฺณาเทโส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ชิณฺณ, ชิณฺณก : ค. ชรา, แก่, คร่ำคร่า, เก่า
ชียติ : ก. เสื่อม, หมดไป, เก่า, คร่ำคร่า, แก่
โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
กตฺตร : (วิ.) หย่อน, เทิบทาบ, แก่, เก่า. กตฺตรฺ เสถิลฺเล, อ.
ชีรติ, ชิรยติ : ก. เก่า, แก่, ชรา, คร่ำคร่า, เสื่อม
ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
มลิมส มลีมส : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, ฯลฯ. อีมส ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ.
ชีรณฏีกา : (อิต.) ฎีกาเก่า, ฎีกาโบราณ.
ปิโลติกา : อิต. เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด, ผ้าเก่า
กตฺตรสุปฺป : (นปุ.) กระด้งเก่า, กระด้งขาด, กระด้งร่องแร่ง.
กรีส : (ปุ. นปุ.) อาหารเก่า, อุจจาระ, ขี้, กรีษ. วิ. กุจฺฉิตพฺพนฺติ กรีสํ. กุ กุจฺฉิเต, อิโส, กุสฺส กรตฺตํ, ทีโฆ. รูปฯ ๖๖๗. อภิฯ วิ. กรียตีติ กรีสํ. กิรฺ วิกิรเณ, อีโส, กรฺ กรเณ วา. ส. กรีษ.
คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
ชชฺชร : (วิ.) แก่มาก, เก่ามาก, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม. ชรฺ วโยนิมฺหิ, อ. เท๎วภาวะ ช ซ้อน ชฺ
ชิณฺณจมฺม : (นปุ.) หนังเก่า, คราบงู.
ชิณฺณวสน : (นปุ.) ผ้าเก่า.
ชีรณตา : อิต. ความเป็นคืออันชรา, ความชรา, ความเก่าแก่, ความคร่ำคร่า, ความเสื่อม, ความทุพพลภาพ
ชีราเปติ, ชีเรติ : ก. ให้คร่ำคร่า, ให้เก่าแก่, ให้เสื่อม; ให้ย่อย
เตลปิโลติก : ป. ผ้าเก่าอันชุ่มด้วยน้ำมัน, ผ้าชุบน้ำมัน
ทีฆวส : (ปุ.) ตระกูลเก่า, วงศ์เก่า, ไม้ไผ่, ต้นไผ่, ต้นอ้อ.
นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
ปรมฺปร : (วิ.) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, นานมา, โบราณนานมา.
ปรมฺปรา : (อัพ. นิบาต) สืบๆกันมา, ก่อนเก่า, ก่นเก่า, นานมา, โบราณนานมา. วิ. ปเร จ ปเร จ ปรมฺปรา.
ปรสุเว ปรเสฺว : (อัพ. นิบาต) ในวันพรุ่ง, ใน วันมะรืน, มะรืนนี้, ปะรืน ( สำนวนเก่า ).
ปริชิณฺณ : กิต. แก่หง่อมแล้ว, เก่าคร่ำคร่าแล้ว
ปฬจฺจร : นป. ผ้าเก่า
ปุพฺพก : (วิ.) เป็นของเก่า, ฯลฯ.
ปุราณทุติยิกา : (อิต.) หญิงผู้ที่สองมีในก่อน, หญิงที่สองมีในก่อน, ปุราณทุติยิกา คือเมียที่มีอยู่ก่อนออกบวช ภริยาเก่าครั้งเป็นคฤหัสถ์ ภริยาเก่าของผู้ออกบวช.
ปุราณวิหาร : (ปุ.) วัดเก่า.
โปราณคติ : (อิต.) เรื่องมีในก่อน, เรื่องมีในกาลก่อน, เรื่องเก่า, โบราณคดี (เรื่องเกี่ยวกับโบราณ).
โปราณวตฺถุ : (นปุ.) ของมีในกาลก่อน, ของเก่า, ของโบราณ, วัตถุโบราณ.
โปราณวตฺถุสาลา : (อิต.) พิพิธภัณฑ์สถานชื่อสถานที่เก็บรักษาของเก่าต่างๆ.
มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
สนนฺตน : ค. เก่าแก่
เสท : (ปุ.) เหงื่อ, เหื่อ (ภาษาเก่า), ไคล(เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า). วิ. เสตีติ เสโท. เส ปาเก, โต, ตสฺส โท. พ่อครัว ก็แปล.
อชร : (วิ.) ไม่เสื่อมสิ้น, ไม่เก่า, ไม่แก่, ยังหนุ่มสาว.
อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
กุฏิ, - กา : อิต. กุฎี, กระท่อม, ที่อยู่ของพระ
ฆรโคลิ (ฬิ) กา : อิต. จิ้งจก, ตุ๊กแก, ตุ๊ดตู่
อจฺจิ, - กา : อิต. เปลวไฟ, แสงแดด
กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กาโกณ : (ปุ.) กาป่า.