Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เก้าอี้นั่ง, เก้าอี้, นั่ง , then กาอนง, เก้าอี้, เก้าอี้นั่ง, นง, นั่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เก้าอี้นั่ง, 83 found, display 1-50
  1. นิฑฺฒ : นป. รัง, รังนก; สถานที่, ที่พักผ่อน, ที่นั่ง; เก้าอี้
  2. อาสนฺทิ : (อิต.) อาสันทิ ชื่อตั่งชนิดหนึ่ง, เก้าอี้สำหรับนั่งคนเดียว, เก้าอี้นอน. อาปุพฺโพ, สทฺ วิสรณคติอวสาเนสุ, อิ, พินฺทฺวาคโม.
  3. ปาทปิฐ : นป. ตั่งเป็นที่รองเท้า, เก้าอี้
  4. นิสีทติ : ก. นั่ง
  5. อาสติ : ก. นั่ง
  6. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  7. อจฺฉติ : ก. นั่ง, พัก
  8. อาสีน : (วิ.) นั่ง, นั่งอยู่. อาสฺ อุปเวสเน, โต. ตสฺส อีโณ, ณสฺส โน.อาปุพฺโพ, สิ นิสฺสเย, อาโน, อานสฺส อีโน. สิทฺ คตฺยวสาเน วา, อ, ทสฺส โน, ทีโฆ.
  9. กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
  10. กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
  11. กุงฺกุมี : ค. ซึ่งผุดนั่ง; ผู้ทำเสียงอึกทึก
  12. ขโฏปิกา : อิต. เตียง, ที่นอน, เก้าอี้ยาว
  13. ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
  14. จมฺมขณฺฑ : ป. ชิ้นหนัง, ท่อนหนัง, แผ่นหนังสำหรับรองนั่ง
  15. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  16. เทวาสน : นป. ที่นั่งของเทวดา, ทิพยอาสน์
  17. ธมฺมปีฐ : (นปุ.) ตั่งอันบุคคลตั้งไว้เพื่อรักษา ธรรม, ที่นั่งอันบุคคลตั้งไว้สำหรับแสดง ธรรม, ธรรมาสน์.
  18. ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
  19. นิสชฺช : กิต. นั่งลงแล้ว
  20. นิสชฺชา : อิต. การนั่งลง
  21. นิสินฺน : กิต. นั่งแล้ว
  22. นิสีทน : นป. การนั่ง, ที่นั่ง
  23. นิสีทาเปติ : ก. ให้นั่ง
  24. นิสีทิ : ก. นั่งแล้ว
  25. นีจาสน : นป. ที่นั่งต่ำ
  26. เนสชฺชิก : ค. ผู้ปฏิบัติในการนั่งเป็นกิจวัตร
  27. ปณฺฑุกมฺพลสิลาสน : นป. แท่นศิลาที่มีสีเหมือนผ้ากัมพล, ชื่อแท่นที่ประทับนั่งของพระอินทร์
  28. ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
  29. ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
  30. ปยิรุปาสิก : ค. ผู้เข้าไปนั่งใกล้, ผู้คอยรับใช้, ผู้คบหา, ผู้บูชา
  31. ปยิรุปาสิต : กิต. (อันเขา) เข้าไปนั่งใกล้แล้ว, ปรนนิบัติแล้ว, เคารพบูชาแล้ว
  32. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  33. ปลฺลงฺก : ป. บัลลังก์, แท่นนั่งขัดสมาธิ
  34. ปลฺลตฺถิกา : อิต. แคร่สำหรับนั่งพักผ่อน
  35. ปาฏงฺกี : อิต. เก้าอี้, แคร่, วอ
  36. ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
  37. ปีฐิกา : อิต. ตั่งน้อยๆ , ที่นั่งน้อยๆ
  38. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  39. โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  40. ภทฺทปีฐ : (นปุ.) เก้าอี้, ราชอาสน์. วิ. ภทฺทํ กลฺยาณํ ปีฐ ภทฺทปีฐ.
  41. ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
  42. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  43. เวตาลิก : ป. คนนั่งยามตีทุ่งโมง
  44. สนฺนิสินฺน : กิต. นั่งสงบแล้ว, นั่งประชุม
  45. สนฺนิสีทติ : ก. นั่งสงบ
  46. เสนาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนและที่เป็นที่นั่ง, ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, เสนาสน์.
  47. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  48. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  49. อชฺชนี : (อิต.?)แท่น, แคร่นั่ง.
  50. อฏฺฏก : (ปุ.) ร้าน, นั่งร้าน, ห้าง (กระท่อมที่ทำไว้เฝ้าสวนหรือ ที่พักเล็กๆ ชั่วคราวที่สำหรับคนประจำคอยดูเหตุการณ์).
  51. [1-50] | 51-83

(0.0660 sec)