กา : (อิต.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง, เสียง ร้อง, กา (เสียงร้องของสัตว์). กุ กา วา สทฺเท, อ.
จตุนวุติ : ค. เก้าสิบสี่
ฉนวุติ : ค. เก้าสิบหก
เตนวุติ : ค. (อิต.) เก้าสิบสาม
ทฺวานวุติ : ค. เก้าสิบสอง
ทฺวินวุติ : ค. เก้าสิบสอง
นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
นวคห นวคฺคห : (ปุ.) พระเคราะห์เก้า, พระ เคราะห์เก้าองค์, ดาวนพเคราะห์. ดาว นพเคราะห์ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ และเกตุ.
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
นวงฺค : (วิ.) มีองค์เก้า.
นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
นวตล : (นปุ.) พื้นเก้า, พื้นเก้าชั้น, นพดล.
นวติ : (อิต.) เก้าสิบ. ส. นวติ.
นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
นวนีต : (นปุ.) มีชั้นเก้า, เพดานเก้าชั้น.
นวภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุเก้ารูป.
นวภูมิ : (วิ.) มีชั้นเก้า, มีชั้นเก้าชั้น, มีเก้าชั้น. วิ. นว ภูมิโย ยสฺส โส นวภูโม. แปลง ภูมิ เป็น ภูม.
นวม : (วิ.) ที่เก้า. นว+ม ปัจ. ส. นวม.
นวมี : อิต. ดิถีที่เก้าของเดือนทางจันทรคติ
นวรตน : (นปุ.) แก้วเก้าอย่าง, แก้วเก้าชนิด, แก้วเก้าประการ, นพรัตน์, เนาวรัตน์. แก้วเก้าอย่าง คือ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย และ ไพฑูรย์. ส. นวรตฺน.
นวโลกกุตฺตรธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมเหนือโลกเก้า,ฯลฯ,โลกุตตรธรรมเก้า(มรรค๔ผล๔นิพพาน๑).
นวโลกุตฺตร : (นปุ.) ธรรมเหนือโลกเก้า, ธรรมอันยังผู้บรรลุให้พ้นวิสัยของโลกเก้า อย่าง. วิ. นว โลกุตตรา นวโลกุตฺครํ.
นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
นวสต : (นปุ.) ร้อยเก้า, ร้อยเก้าหน, เก้าร้อย.
นวสิวถิกาปพฺพ : (นปุ.) หัวข้อว่าด้วยป่าช้า เก้า, หัวข้อยิ่งด้วยป่าช้าเก้าหัวข้อ.
นวอรหาทิคุณ : (ปุ.) คุณของพระพุทธเจ้าเก้า อย่างมีอรหังเป็นต้น.
นวิมน : (อิต.)เก้าสิบ.แปลงทสที่แปลว่าเก้าสิบ(ทสเก้าครั้ง)เป็นนวลงโยวิภัติแปลงโยเป็นอุติรูปฯ๓๙๗.
นวุติ : อิต. เก้าสิบ
นวุติย : ค. อันควรค่าเก้าสิบ, มีราคาเก้าสิบ
นิกฺขมณีย นิกฺขมนีย : (ปุ.) เดือนสาวนะ, เดือนเก้า. วิ. อนฺโตวิถิโต พหิ นิกฺขมติ สุริโย เอตฺถาติ นิกฺขมณีโย. อนีย ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
สาวณ สาวน สาวณมาส สาวนมาส : (ปุ.) เดือนเก้า, สิงหาคม, เดือนสิงหาคม. วิ. สวเณน นกฺขตฺเตน ยุตโต มาโส สาวโณ.
สาวน : ป. เดือนเก้า
อรุกาย : ป. กายที่มีแผล, คือ ทวารเก้า, มีกายเป็นแผล
อูนตึส : (อิต.) สามสิบหย่อนหนึ่ง, ยี่สิบเก้า.
อูนวีส : (อิต.) ยี่สิบหย่อนหนึ่ง, สิบเก้า.
เอกูนตึส : (อิต.) สามสิบหย่อนด้วยหนึ่ง, สาม สิบหย่อนหนึ่ง, ยี่สิบเก้า. วิ. เอเกน อูนา ตึส เอกูนตึส. ต. ตัป.
เอกูนวีสติ : (อิต.) ยี่สิบหย่อนด้วยหนึ่ง, ยี่สิบ หย่อนหนึ่ง, สิบเก้า. วิ. เทียบ เอกูนตึส.
เอกูนวีสติม : (วิ.) ที่สิบเก้า.
เอกูนสต : (นปุ.) ร้อยหย่อนด้วยหนึ่ง, ร้อย หย่อนหนึ่ง, เก้าสิบเก้า.
เอกูนอตฺตภาวสต : (นปุ.) ร้อยแห่งอัตภาพ หย่อนด้วยอัตภาพหนึ่ง, เก้าสิบเก้าอัตภาพ.
กุฏิ, - กา : อิต. กุฎี, กระท่อม, ที่อยู่ของพระ
ฆรโคลิ (ฬิ) กา : อิต. จิ้งจก, ตุ๊กแก, ตุ๊ดตู่
อจฺจิ, - กา : อิต. เปลวไฟ, แสงแดด
กากามสก : ค. ผู้จับต้องเหมือนอย่างกา, ผู้กินอาหารที่จับจด, ผู้รังเกียจอาหาร
กากุฏเฏปก : ค. ผู้แพ้วกา, ผู้ไล่กา, เด็กผู้รู้เดียงสาพอจะไล่กาได้
กาโกณ : (ปุ.) กาป่า.
กาโกทุมฺพริกา : (อิต.) มะเดื่อปล้อง (ใบโต คาย) วิ. กากานํ อุทุมฺพโร กาโกทุมฺพโร, โส เอว กาโกทุมฺพริกา. อิก สกัด อาอิต.
กาโกปมา : อิต. เปรียบเหมือนกา, คล้ายกา, มีกาเป็นตัวอย่าง
กาโกรว : ป. เสียงร้องของกา, เสียงการ้อง
กาโกล : ป. นกดุเหว่า, กาป่า