อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ. แปลง อิ เป็น ย รวมเป็น จฺย แปลง จฺย เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
กุนที กุนฺนที : (อิต.) แม่น้ำน้อย, แม่น้ำเขิน, ลำธาร. วิ. กุ ขุทฺทกา นที กุนที กุนฺนที วา.
มงฺกุภูต : (วิ.) เป็นผู้เก้อเป็นแล้ว, ผู้เก้อเขิน.
อุชฺชงฺคล : (นปุ.) ที่เป็นที่ขาดเขินแห่งน้ำ, ที่ ดอน, อุทก+ชงฺคล ลบ ทก ซ้อน ชฺ.
กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
ปริรกฺขน : นป. การรักษา
ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
ภกฺขน : นป. การกิน
ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
รกฺขณ รกฺขน : (นปุ.) การระวัง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
สมฺมกฺขน : นป. การลูบไล้
สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
สุกฺขน : นป. ความแห้ง
อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
อนุรกฺขน : นป. การเก็บรักษา, การป้องกัน, การคุ้มครอง
อนุสิกฺขน : นป. การเอาอย่าง, การเจริญรอยตาม
อปลิขน, อปเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.
อภิกงฺขน : นป. ความปรารถนา, ความจำนง, ความหวัง
อภิรกฺขน : นป. การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง
อเวกฺขน : นป. การเห็นชัด, การดูด้วยปัญญา
อสมเปกฺขน : นป., อสมเปกฺขณา อิต. การไม่เพ่งพิจารณา, การไม่ใคร่ครวญ
อากงฺขน : นป. ความหวัง, ความจำนง, ความปรารถนา
อาข, อาขน : นป. จอบ, เสียม
อาจิกฺขน : นป. การบอกกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
อิกฺขณ อิกฺขน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การ แลดู, การเพ่ง, ความแลดู, ความพินิจ, ความรู้, ความกำหนด, เครื่องหมาย, ยุ ปัจ.
อุปปริกฺขน : นป. การเห็นรอบ, การพิจารณา, การไต่สวน
อุลฺลิขน : นป. การหวี, การขีด, การเขียน
กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
ตนุรุห : (นปุ.) ขน วิ. ตนุมฺหิ รูหตีติ ตนุรุหํ. ตนุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน ปาตุภาเว วา, อ.
โรม : ป. ขน
โลม : นป. ขน
หสติ :
ก. ดู หสติ, ชูชัน(ผม, ขน)
อิญฺชติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, ลุกชัน (ขน)
กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?