ตุงฺคหาร : (ปุ.) แกแล ชื่อไม้เถาชนิดเขื่อง มี แก่นเหลือง ใช้ย้อมผ้าและทำยาไทย.
สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
อุปายน : (นปุ.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของ ฝาก, บรรณาการ. วิ. อุเปยฺยเตติ อุปายนํ. อาปายิตพฺพนฺติ วา อุปายนํ. อุปปุพฺโพ, อิ คติมฺหิ, ยุ. ส. อุปายน.
กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
ต : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
*อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
อสฺสา : ๑. อิต. แม่ม้า ;
๒. (จตุ. ฉ. เอก ของ อิม) แก่เธอ, แก่หล่อน, ของหล่อน
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
อาหจฺจปาท : (ปุ.) เตียงมีขาจรดแม่แคร่. วิ. อฏนิยํ อาหจฺโจ ยสฺส ปาโท อาหจฺจปาโท. อาหจฺจ วา ปาโท ติฏฺฐติ ยสฺเสติ อาหจฺจปา โท. อาหจฺจ ของ วิ. หลัง เป็นศัพท์ กิริยากิตก์ ตูนาทิปัจ.
อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
อุปราช : (ปุ.) พระราชารอง (รองจากพระเจ้าแผ่นดิน), อุปราช คือผู้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าแผ่นดิน ในส่วนหนึ่ง ๆ ของ พระราชอาณาจักร.
กกฺโกล (ตกฺโกล) : นป. ของหอมชนิดหนึ่ง
กกจขณฺฑ : ป. ขัณฑ์, ส่วนของเลื่อย
กกุนฺทร : นป. ถ้ำของสิงโต, ที่อยู่ของสิงโต
กงฺกา : อิต. กลิ่นหอมของดอกบัว
กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
กฏิภาร : ป. ของหรือภาชนะที่นำไปด้วยเอว เช่นการอุ้มเด็ก
กฏิสนฺธิ : อิต. ที่ต่อของบั้นเอว
กฏุกปฺผล : ๑. นป. ผลของพืชที่มีกลิ่นหอมชนิดหนึ่ง;
๒. ค. มีผลเผ็ดร้อน
กฏุล : ค. ประกอบด้วยสารเผ็ดร้อน, ปรุงด้วยของเผ็ดร้อน
กฐินขนฺธก : ป. กฐินขันธ์, ขันธ์ที่ ๗ ของมหาวรรคแห่งพระวินัย, วิภังค์
กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
กณฺฐก :
ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
กณฺโฑลิกา : อิต. กระเช้าหวาย, กระจาด, ห้องเก็บของ
กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
กณฺณปิฏฐี : อิต. ส่วนบนของใบหู, หลังหู
กณฺณสกฺขลิ, - ลิกา : อิต. ส่วนนอกของหู, หมวกหู
กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ;
๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
กตฺตรทณฺฑ : (ปุ.) ไม้ของคนแก่, ไม้เท้า.
กตฺตรยฏฺฐิ : (อิต.) ไม้เท้าของคนแก่, ไม้เท้า.
กตฺตุการก : (ปุ.) กัตตุการก ชื่อตัวประธาน ของกัตตุวาจก.
กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
กถลา : (อิต.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
กถลิก : (นปุ.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
กถาวตฺถุ : นป. เรื่องที่นำมาสนทนา, ชื่อของคัมภีร์เล่มที่ห้า ของอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์