ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
อารา : (อิต.) เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม.อรฺคมเน, โณ, อิตฺถิยํอา.อภิฯลงอปัจ.
กุนฺตาล : (นปุ.) กระไดลิง, ลางลิง, (เถาวัลิชนิด หนึ่ง), ดอกคาง, ดอกเข็ม, ดอกตาเสือ.
ขม ขมน : (วิ.) ทน, อดทน, อดอกลั้น. ขมฺ สหเน, อ, ยุ.
จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
ฌามร : (นปุ.?) เหล็กในปั่นฝ้าย, เข็มเย็บผ้า.
ตุนฺน : (วิ.) ชุน, เย็บ, ด้น ( เย็บเป็นฝีเข็มขึ้น ลง). ตุทฺ วฺยถเน, โน, ทสฺส โน.
ทนฺตก : นป. เข็มกลัดที่ทำด้วยฟันสัตว์หรืองาช้าง
สุจิมุข สูจิมุข : (วิ.) มีปากเช่นกับเข็ม.
สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
สูจิมุข : (ปุ.) สัตว์มีปากเพียงดังเข็ม, สัตว์มีปากเหมือนเข็ม, สัตว์มีปากเช่นกับเข็ม, ยุง, ริ้น, เหลือบ.
อจิวอจฺฉิว : (ปุ.) ต้นหมากไฟ, ต้นเข็ม.
อจิว อจฺฉิว : (ปุ.) ต้นหมากไฟ, ต้นเข็ม.
อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
อสูจิก : ค. ไม่มีเข็ม, ปราศจากเข็ม
อารคฺค : นป. ปลายเข็ม, ปลายเหล็กแหลม, ปลายธนู
อารปถ : ป. ช่องเข็ม, รูเข็ม
ขมติ : ก. อดทน, อดกลั้น, ข่มใจได้, อภัยให้
นิกฺขมณีย นิกฺขมนีย : (ปุ.) เดือนสาวนะ, เดือนเก้า. วิ. อนฺโตวิถิโต พหิ นิกฺขมติ สุริโย เอตฺถาติ นิกฺขมณีโย. อนีย ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
เขมี : (วิ.) มีความดี, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
นิกฺขม : (ปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
นิกฺขมติ : ก. ออกไป, ก้าวไป, จากไป, ออกบวช
นิกฺขมนีย : ป. ชื่อของเดือน, เดือนสาวนะ, (ระหว่างเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม)
วจนกฺขม : ค. ผู้ใคร่อยากทำตามคำกล่าวของคนอื่น
อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
อภินิกฺขมติ : ก. สละโลก, ออกบวช, ออกจากกาม
อุปนิกฺขมติ : ก. ออกไป, ออกมา
โอวาทกฺขม : ค. ผู้อดทนต่อคำสั่งสอน, ผู้ว่าง่าย
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
ผารุก : ค. ขม
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
ติตฺตกตฺต : นป. ความขม
ติตฺต, ติตฺตก : ๑. นป. รสขม;
๒. ค. ขม; คม, แหลม;
๓. กิต. อิ่มแล้ว, พอใจแล้ว
ติตฺติ : (อิต.) ความขม, ความเบื่อเมา. ติ ปัจ.
ติตฺติก : (วิ.) มีรสขม, มีรสเบื่อเมา.
ทเมติ : ก. ฝึก, ข่ม, ทรมาน, บังคับ, สอน, ชักจูงให้มานับถือ
นิคฺคณฺหาติ : ก. ตำหนิ, ติเตียน, ข่ม, บังคับไว้, จับไว้
นิคฺคยฺหติ : ก. อัน...ตำหนิ, ติเตียน, ข่ม, ถูกตำหนิ, ถูกข่ม
นิคฺคห : (วิ.) ข่ม, ข่มขี่, ปราบ, ปราบปราม, ข่มขู่, กด (ข่ม).
วิกฺขมฺเภติ : ก. ข่ม, ถอนออกทิ้งไป