จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
อารา : (อิต.) เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม.อรฺคมเน, โณ, อิตฺถิยํอา.อภิฯลงอปัจ.
กุนฺตาล : (นปุ.) กระไดลิง, ลางลิง, (เถาวัลิชนิด หนึ่ง), ดอกคาง, ดอกเข็ม, ดอกตาเสือ.
ขม ขมน : (วิ.) ทน, อดทน, อดอกลั้น. ขมฺ สหเน, อ, ยุ.
ฌามร : (นปุ.?) เหล็กในปั่นฝ้าย, เข็มเย็บผ้า.
ตุนฺน : (วิ.) ชุน, เย็บ, ด้น ( เย็บเป็นฝีเข็มขึ้น ลง). ตุทฺ วฺยถเน, โน, ทสฺส โน.
ทนฺตก : นป. เข็มกลัดที่ทำด้วยฟันสัตว์หรืองาช้าง
สุจิมุข สูจิมุข : (วิ.) มีปากเช่นกับเข็ม.
สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
สูจิมุข : (ปุ.) สัตว์มีปากเพียงดังเข็ม, สัตว์มีปากเหมือนเข็ม, สัตว์มีปากเช่นกับเข็ม, ยุง, ริ้น, เหลือบ.
อจิวอจฺฉิว : (ปุ.) ต้นหมากไฟ, ต้นเข็ม.
อจิว อจฺฉิว : (ปุ.) ต้นหมากไฟ, ต้นเข็ม.
อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
อสูจิก : ค. ไม่มีเข็ม, ปราศจากเข็ม
อารคฺค : นป. ปลายเข็ม, ปลายเหล็กแหลม, ปลายธนู
อารปถ : ป. ช่องเข็ม, รูเข็ม
ขมติ : ก. อดทน, อดกลั้น, ข่มใจได้, อภัยให้
ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
นิกฺขมณีย นิกฺขมนีย : (ปุ.) เดือนสาวนะ, เดือนเก้า. วิ. อนฺโตวิถิโต พหิ นิกฺขมติ สุริโย เอตฺถาติ นิกฺขมณีโย. อนีย ปัจ. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
นิฏฐาติ : ก. จบลง, หมด, สิ้นสุด, สำเร็จ
นิวตฺตติ : ค. กลับ, หมด, สูญหาย
นิสฺเสส : ค. ไม่มีเหลือ, หมด
นิสฺเสส : ก. วิ. อย่างไม่มีส่วนเหลือ, หมด
อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
เขมี : (วิ.) มีความดี, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
นิกฺขม : (ปุ.) การก้าวออก, การออก, การออกไป, ความออก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ยุ แปลง ก เป็น ข ซ้อน กฺ.
นิกฺขมติ : ก. ออกไป, ก้าวไป, จากไป, ออกบวช
นิกฺขมนีย : ป. ชื่อของเดือน, เดือนสาวนะ, (ระหว่างเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม)
วจนกฺขม : ค. ผู้ใคร่อยากทำตามคำกล่าวของคนอื่น
อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
อภินิกฺขมติ : ก. สละโลก, ออกบวช, ออกจากกาม
อุปนิกฺขมติ : ก. ออกไป, ออกมา
โอวาทกฺขม : ค. ผู้อดทนต่อคำสั่งสอน, ผู้ว่าง่าย
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิรินฺธน : (วิ.) มีเชื้อออกแล้ว, ไม่มีเชื้อ, หมด เชื้อ, สิ้นเชื้อ, ไร้เชื้อ, ปราศจากเชื้อ. นิ+อินฺธน รฺ อาคม.
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
ผารุก : ค. ขม
สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กรกา : (อิต.) ลูกเห็บ (เมล็ดน้ำแข็งที่ตกจาก อากาศ เมฆที่ละลายไม่หมด). กเรน หตฺ เถน คยฺหุปคตฺตา กรกา. ส. กรก.
เกวลี : ค. ผู้หมดกิเลสโดยสิ้นเชิง (พระอรหันต์)
ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.