Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข่นเขี้ยว, เขี้ยว, เข่น , then ขน, ขนขยว, เข่น, เข่นเขี้ยว, เขี้ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข่นเขี้ยว, 157 found, display 1-50
  1. ทฏฺฐา : อิต. ฟันซี่ใหญ่, เขี้ยว
  2. ทาฐาทนฺต : ป. เขี้ยว
  3. ทาฒ : นป. เขี้ยว
  4. ตมฺพทาฐิก : ค. ผู้มีเขี้ยวแดง, มีเคราแดง
  5. ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
  6. ทาฐรท : (ปุ.) ฟันสำหรับเคี้ยว, เขี้ยวและฟัน.
  7. ทาฐา : (อิต.) เขี้ยว, งาช้าง. วิ. ทํสติ เอตายาติ ทาฐา. ทํสฺ ทํสเน, โฐ, ทํสสฺส ทา (แปลง ทํสฺ เป็น ทา). ส. ทาฒา.
  8. ทาฐาธาตุ : อิต. พระเขี้ยวแก้ว (ของพระพุทธเจ้า)
  9. ทาฐาพลี : ค. ผู้มีเขี้ยวเป็นกำลัง, ผู้มีกำลังอยู่ที่เขี้ยว (หมายถึงราชสีห์)
  10. ทาฐาวุธ ทาฒาวุธ : (ปุ.) สัตวืมีเขี้ยวเป็นอาวุธ, งู. วิ. ทาฐา ทาฒา วา ตสฺส อาวุโธ ติ ทาฐาวุโธ ทามาวุโธ วา.
  11. ทาฒา : (อิต.) เขี้ยว, งา , งาช้าง. ทํส ธาตุ ฒ ปัจ. ส. ทาฒา.
  12. ทาฒิ : ค. ผู้มีเขี้ยว
  13. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  14. สปฺปทฐา : (อิต.) เขี้ยแห่งงู, เขี้ยวงู.
  15. เสขริก : (ปุ.) หญ้าเขี้ยวงู, หญ้าพันงู. วิ. สิขร มสฺส อตฺถีติ เสขริโก. ณิก ปัจ.
  16. อปามคฺค : (ปุ.) หญ้าเขี้ยวงู, หญ้าพันงู.อป+มชฺชฺ+อปัจ. ทีฆะ.
  17. อสิวีส : (ปุ.) สัตว์มีพิษเพียงดังดาบ, อสรพิษ(มีพิษในเขี้ยว มีพิษที่เขี้ยว).
  18. อาสิวิส อาสีวิส : (วิ.) มีพิษร้าย, มีพิษที่เขี้ยว. ส. อาศีวิษ อาศิรวิษ.
  19. อาสี : อิต. เขี้ยวงู, การให้พร
  20. กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
  21. อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
  22. ขนติ : ก. ดู ขณติ
  23. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  24. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  25. อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
  26. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  27. เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
  28. นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  29. นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
  30. ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
  31. ปริรกฺขน : นป. การรักษา
  32. ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
  33. ภกฺขน : นป. การกิน
  34. ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
  35. มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
  36. รกฺขณ รกฺขน : (นปุ.) การระวัง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  37. รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
  38. รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
  39. ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
  40. สมฺมกฺขน : นป. การลูบไล้
  41. สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
  42. สุกฺขน : นป. ความแห้ง
  43. อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
  44. อนุรกฺขน : นป. การเก็บรักษา, การป้องกัน, การคุ้มครอง
  45. อนุสิกฺขน : นป. การเอาอย่าง, การเจริญรอยตาม
  46. อปลิขน, อปเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
  47. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  48. อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.
  49. อภิกงฺขน : นป. ความปรารถนา, ความจำนง, ความหวัง
  50. อภิรกฺขน : นป. การดูแล, การรักษา, การคุ้มครอง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-157

(0.0550 sec)