อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
อุตฺตานีกมฺม : นป. การแสดงให้ปรากฏ, การทำให้เข้าใจง่าย
กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ทสฺสติ : ๑. ก. เห็น, เข้าใจ;
๒. ก. (ขา) จักให้
นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ปฏิพุชฺฌติ : ก. ตื่น, รู้, เข้าใจ
ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
สนฺทีเปติ : ก. จุดไฟ, แสดงให้เห็น, เข้าใจ
อธิคจฺฉติ : ก. บรรลุ, เข้าใจ
อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
อีสก : (วิ.) น้อย, เล็กน้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย หนึ่ง, นิดหน่อย, สะดวก, ง่าย. ส. อีษตฺ.
อีสก อีส : (อัพ. นิบาต) น้อย, ฯลฯ, ง่าย.
อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
กากเปยฺย : ค. แอ่งน้ำที่เต็มเปี่ยมพอที่กาควรดื่มกินได้, เต็มจนถึงขอบพอที่กาจะดื่มกินได้โดยง่าย
โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
ชวนปญฺญ : ค. มีปัญญาว่องไว, ความเข้าใจได้ไว
ชาน, ชานน : นป. ความรู้, ความเข้าใจ, ความจำได้, ความชำนาญ
ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
ชานิตุ : ก. การรู้, การเข้าใจ; เพื่ออันรู้, เพื่ออันเข้าใจ
ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ญตฺวา : กิต. รู้แล้ว, เข้าใจแล้ว, เรียนรู้แล้ว
ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
ทนฺธาภิญฺญา : อิต. การเข้าใจความได้ช้า, การตรัสรู้ช้า
ทิฏฺฐิปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะซึ่งทิฐิ, การเข้าใจในทิฐิ
ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
ทิฏฺฐิปรามาส : ป. การลูบคลำด้วยทิฐิ, ความงมงายเพราะทิฐิ, ความเข้าใจผิดไปจากความจริงเพราะความเห็นผิด
ทุชฺชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุปฺปฏิวิชฺฌ : ค. ซึ่งแทงตลอดได้โดยยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุพฺพิชาน : ค. ซึ่งรู้ได้โดยยาก, ซึ่งรู้ได้ยาก, ซึ่งเข้าใจยาก
ทุรนุโพธ, - รานุโพธ : ค. ซึ่งรู้ตามได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
ทุราชาน : ค. ซึ่งรู้ทั่วถึงได้ยาก, ซึ่งเข้าใจได้ยาก
ธมฺมวิทู : ค. ผู้รู้ธรรม, ผู้เข้าใจธรรม, ผู้แตกฉานธรรม
นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ,
๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
ปชานนา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
ปญฺญา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ