นิปฺปตติ : ก. ตกไป, ตกหล่น, ล้มลง, เข้าไป
อชฺโฌคาหติ : ก. หยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป
ปวิสติ : ก. เข้าไป
กณฺฑี : ๑. ป. นายขมังธนู ;
๒. ค. มีลูกศรเสียบเข้าไป
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กายูปค : ค. อันเข้าไปสู่กาย, อันอาศัยกาย, ซึ่งติดอยู่กับกาย
กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
กุมฺภการิกา : อิต. ตุ่มดินขนาดใหญ่ (ที่คนสามารถเข้าไปอาศัยอยู่ได้)
กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
คพฺภาสย : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
คาหติ : ก. ดำลงไป, ผ่านเข้าไป, โจนลงไป
คุหา : (อิต.) ถ้ำ, คูหา คือช่องที่เว้าเข้าไป. คุหฺ สํวรเณ, อ. เป็น คูหา ก็มี.
จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
ตถปรกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปสู่ความเป็นจริง
ทุกฺขูปธาน : นป. การเข้าไปตั้งไว้ซึ่งความทุกข์, การก่อทุกข์
ทุกฺขูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งทุกข์, ความหมดทุกข์
ทุราสท : ค. ซึ่งเข้าไปหาได้ยาก, ซึ่งเข้าหายาก
นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง,
๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
นิคจฺฉติ : ก. เข้าไป, เข้าถึง, มาถึง, ผ่านไป, บรรลุ
นิพฺพิสติ : ก. เข้าไป, ได้มา, ค้นหา, ประสบ
นิเวเสติ : ก. ให้เข้าไป, ตั้งมั่น, มั่นคง
ปฏิธาวติ : ก. วิ่งกลับไปหา, วิ่งเข้าไปใกล้
ปฏิปวิฏฺฐ : กิต. กลับเข้าไปอีกแล้ว
ปฏิปวิสติ : ก. กลับเข้าไปอีก
ปฏิสารี : ค. ผู้แล่นเข้าไปหา, ผู้ถือ, ผู้ยึดถือ (โคตร); ผู้รังเกียจกัน (ด้วยโคตร)
ปธาวติ : ก. วิ่งออกไป, วิ่งไปข้างหน้า, วิ่งถลันเข้าไปหา
ปธาวี : ค. ซึ่งวิ่งออกไป, ซึ่งวิ่งไปหา, ซึ่งถลันเข้าไป
ปนยน : (วิ.) นำเข้าไป. ป+นี+ยุ.
ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
ปยิรุปาสิก : ค. ผู้เข้าไปนั่งใกล้, ผู้คอยรับใช้, ผู้คบหา, ผู้บูชา
ปยิรุปาสิต : กิต. (อันเขา) เข้าไปนั่งใกล้แล้ว, ปรนนิบัติแล้ว, เคารพบูชาแล้ว
ปรทตฺตูปชีวี : (วิ.) ( เปรต ) ผู้อาศัยทานอัน บุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่โดยปกติ, ผู้มีปกติ เข้าไปอาศัยทานอันบุคคลอื่นให้แล้วเป็นอยู่, ผู้อาศัยทานอันบุคคลให้เป็นอยู่, ผู้ เป็นอยู่ ด้วยทานอันบุคคลให้ .
ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
ปวิฏฺฐ : ค. เข้าไปแล้ว, เข้าไปหาแล้ว
ปวิสน : นป. การเข้าไป
ปเวกฺขติ : ก. จักเข้าไป
ปเวส : ป. การเข้าไป
ปเวสก : ค. ผู้เข้าไป
ปเวเสติ : ก. ให้เข้าไป
ปเวเสตุ : ป. ผู้ให้เข้าไป, ผู้อนุญาตให้เข้าไป
ปเวเสตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การให้เข้าไป, การอนุญาตให้เข้าไป; เพื่อให้เข้าไป
มหาวิชฺชาลย มหาวิทฺยาลย : (ปุ.) สถานที่สำหรับเข้าไปศึกษาความรู้ชั้นสูง, มหาวิทยาลัย ชื่อสถานศึกษาความรู้ชั้นอุดม.
วูปสม : ป. ความเข้าไปสงบ
วูปสเมติ : ก. บรรเทา, เข้าไปสงบ
สนฺนิเวส : (ปุ.) การตั้งลง, การตระเตรียม, การเข้าไป, การเข้าไปอยู่, ทรวดทรง, สัณฐาน, สํ นิ ปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, โณ.
สมุปคจฺฉติ : ก. เข้าไปใกล้