Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข, 58 found, display 1-50
  1. เขปก : (ปุ.) คนแผลงศร. ขิปฺ เขเป, ณฺวุ.
  2. เขปน : นป. การสิ้นไป, การหมดไป
  3. เขเปติ : ก. ปล่อยให้สิ้นไป (เวลาหรือสมบัติ), ให้เวลาล่วงเลยไป
  4. เขมี : (วิ.) มีความดี, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  5. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  6. อุกฺเขปนียกมฺม : นป. อุกเขปนียกรรม, กรรมคือการที่สงฆ์พึงลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ออกจากคณะ
  7. เขเขปน : (นปุ.) การทิ้ง, การขว้าง. การขว้างไป, การโยนไป, ฯลฯ. ขิปฺ ฉฑฺฑนาทีสุ, อ, ยุ.
  8. เทหนิกฺเขปน : นป. การทอดทิ้งร่างกาย, การตาย
  9. นิกฺเขปน : นป. ดู นิกฺเข
  10. ปทวิกฺเขปน : (นปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
  11. ปริกฺเขปน : (นปุ.) การวง, เครื่องล้อม, ปริปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, อ, ยุ.
  12. ปิณฺฑุกฺเขปก : นป. การโยนคำข้าวเข้าปาก
  13. ภกฺเขติ : ก. ดู ภกฺขติ
  14. ภารนิกฺเขปน : นป. การวางของหนัก, การวางธุระ
  15. มกฺเขติ : ก. ทา, เจิม, ถู, เช็ด
  16. โยตกฺเขมี : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  17. ลกฺเขติ : ก. หมาย, กำหนด
  18. วิกฺเขปก : ป. ผู้ยุ่งยาก, ผู้รบกวน
  19. สลฺลกฺเขติ : ก. กำหนด, พิจารณา
  20. สุเขติ : ก. ให้มีความสุข
  21. สุเขธิต : (วิ.) เจริญด้วยความสุขวิ.สุเขนเอธตีติ สุเขธิโต. สุขปุพฺโพ, เอธฺ วทฺธเน, โต, อิอาคโม. แปลง เอ เป็น โอ เป็น สุโขธิโตบ้าง.
  22. สุเขสิ : ค. ผู้แสวงหาความสุข
  23. อภิลกฺเขติ : ก. กะ, กำหนด, หมาย
  24. อภิเลเขติ : ก. ให้เขียน, ให้จารึก
  25. อมราวิกฺเขปิก : ค. ผู้พูดเหลาะแหละไม่ตายตัว, ผู้พูดซัดส่ายเหมือนปลาไหล
  26. อุกฺขิปน อุกฺเขปน : (นปุ.) อุกฺเข
  27. อุกฺเขปก : ก. ผู้ยกวัตร, ผู้ลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้มีอธิกรณ์ออกจากสงฆ์
  28. อุกฺเขปน : นป. ดู อุกฺขิปน
  29. อุกฺเขปนีย : ค. ควรแก่การลงโทษโดยการยกออกเสียจากคณะ
  30. อุปลกฺเขติ : ก. ทำให้เห็นข้อแตกต่าง, เข้าไปกำหนด, สังเกต
  31. ขค ขคฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในอากาศ, นก. วิ. เข อากาเสคจฺฉตีติ ขโค ขคฺโค วา. ขปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. รูปฯ ๕๗0 วิ. เขน คจฺฉตีติ ขโค. ส.ขค.
  32. เขจร : (ปุ.) สัตว์ผู้บินไปในอากาศ, นก. เข+จร ไม่ลบ เอ ซึ่งสำเร็จมาจากสัตมีวิภัตินาม.
  33. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  34. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  35. กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
  36. เข : (ปุ.) การติเตียน, การนินทา, ความติเตียน. วิ. ขิปนํ พหิกรณํ เขโป. ขิปฺ เปรเณ, โณ. อภิฯ ลง ปัจ.
  37. ทุกฺขิต : (วิ.) ผู้ลำบาก วิ. ทุกฺขตีติ ทุกฺโข. ทุกฺขฺ ทุกฺเข, อิโต. ผู้มีความลำบากเกิดพร้อมแล้ว, ผู้มีความลำบากทุกประการ. วิ. ทุกขํ สํชาตํ เอตสฺสาติ ทุกฺขิโต. ผู้มีความลำบาก วิ. ทุกฺขํ อสฺส อตฺถีติ ทุกฺขิโต. ผู้เป็นไปแล้วโดย ความลำบาก, ผู้เป็นไปด้วยความยาก. วิ. ทุกเขน อิโตติ ทุกฺขิโต. ทุกฺข+อิตศัพท์.
  38. นาฬินฺธม : (ปุ.) ช่างทอง วิ. นาฬึ ธมติ มุเข วินฺยาสยิตฺวา มุขวายุนา อคฺคิทีปนตฺถํ สทฺทาปยตีติ นาฬินฺธโม, นาฬิปุพโพ, ธมฺ สทฺเท, อ. ส. นาฑินฺธม.
  39. นิกฺขิก : (ปุ.) พนักงานคลังเงินทอง, เจ้าหน้าที่ การเงิน, เหรัญญิก. วิ. นิกฺเข นิโยโค นิกฺขิโก.
  40. นิกฺเขปปท : (นปุ.) บทตั้ง, นิเขปบท (หัว เรื่อง ความย่อ).
  41. ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  42. ปโมจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปลด, การเปลื้อง, การปล่อย, การแก้, การปลดเปลื้อง, การปลดปล่อย, ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, ยุ.
  43. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  44. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  45. มุขผุลฺล : (นปุ.) เครื่องประดับหน้า วิ. มุเข ผุลฺลตีติ มุขผุลฺลํ. ผุลฺลฺ วิกสเน, อ.
  46. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  47. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  48. หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
  49. หิลาท : (วิ.) สบาย, สำราญ, ทำความสบาย, ทำความสำราญ. หิลาทิ สุเข. อ.
  50. อกฺขทสฺส : (ปุ.) ผู้พิพากษา, ตุลาการ. วิ. อกฺเขโวหาเร ปสฺสตีติ อกฺขทสฺโส. อกฺขปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ. ส. อกฺขปาฏก.
  51. [1-50] | 51-58

(0.0180 sec)