Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เคย , then คย, เคย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เคย, 51 found, display 1-50
  1. กตปริจย : ค. ผู้คุ้นเคย
  2. กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
  3. กุทฺธปุพฺพ : (วิ.) โกรธแล้วในก่อน, โกรธแล้ว ในกาลก่อน, เคยโกรธแล้ว.
  4. กุลุปก กุลุปิก : (ปุ.) คนผู้คุ้นเคย, กุลุปกะ กุลุปิกะ ใช้เรียกภิกษุผู้ประจำตระกูล.
  5. กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
  6. คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
  7. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  8. จิณฺณฏฐาน : นป. ที่ตนเคยเที่ยวไปแล้ว; ฐานะที่เคยประพฤติมาแล้ว
  9. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  10. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  11. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  12. ทิฏฺฐปุพฺพ ทิฏฺฐปุพฺพก : (วิ.) อัน...เห็นใน กาลก่อน, อัน...เคยเห็นแล้ว, เห็นแล้ว ในกาลก่อน, เคยเห็นกันแล้ว, เคยพบ กันแล้ว.
  13. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  14. ปฏิวิสฺสก : ป., ค. คนคุ้นเคย, เพื่อนบ้าน; ผู้เป็นเพื่อนบ้าน
  15. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  16. ปารมิตา, ปารมี : อิต. บารมี, คุณความดีที่เคยสั่งสมมา, ความสูงส่งแห่งบุญ
  17. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  18. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  19. ปุพฺเพสนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมกันในชาติก่อน (เคยเป็นคู่กันแต่ปางก่อน)
  20. ภชก : (วิ.) ผู้คบ, ผู้เสพ, ผู้รับใช้, ผู้คุ้นเคย. ภชฺ เสวายํ วิสฺสเส จ. ณฺวุ.
  21. ภูตปุพฺพ : (วิ.) เป็นแล้วในก่อน, เคยเป็นแล้ว, เคยมีแล้ว, เคยมีมาแล้ว.
  22. ภูตปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ในกาลเคยเป็นแล้ว, ในกาลเคยมีแล้ว, ในกาลเคยมีมาแล้ว. นิบาตลงในอรรถกาลสัตมี รูปฯ ๒๘๒.
  23. เมลก : (ปุ.) การกอดรัด, การเกี่ยวข้อง, การคุ้นเคย, การกอดรัก, ฯลฯ, ความรัก, ความเยื่อใย, หมู่, ประชุม. มิลฺ สิเนหเน, โณ, สตฺเถ โก.
  24. วิสฺสฏฺฐ : กิต. คุ้นเคยแล้ว
  25. วิสฺสมฺภ : ป. การคุ้นเคย
  26. วิสฺสสติ : ก. คุ้นเคย, ไว้ใจ
  27. วิสฺสาส : ป. ความคุ้นเคย
  28. สนฺถว : (ปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
  29. สนฺถวตฺติ : (อิต.) ความรักด้วยสามารถแห่งความคุ้นเคย, ฯลฯ, สันถวไมตรี.
  30. สนฺถวน : (นปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
  31. สฺวากฺขาต : (วิ.) (พระธรรม, พระธรรมวินัย) อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว. ศัพท์นี้ เคยใช้เป็น สฺวาขาต. บ้าง สฺวากฺขาต บ้าง ปัจจุบันนี้ยุติเป็น สฺวากฺขาต. สุ+อกฺขาต.
  32. อจฺฉริยพฺภูตชาต : (วิ.) มีเหตุน่าอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีความอัศจรรย์ไม่เคยเป็นแล้วเกิดแล้ว, มีเหตุอันอัศจรรย์เกิดแล้ว.
  33. อติวิสฺสาสิก : ค. คุ้นเคยมาก, ไว้วางใจได้
  34. อทินฺนปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยให้แล้ว, ไม่เคยให้อะไรในปางก่อน.
  35. อนามต : (นปุ.) ที่อันบุคคลไม่เคยตาย, ที่อันสัตว์ไม่เคยตาย.
  36. อพฺภุ(ภู) ตธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน ; เป็นชื่อของคัมภีร์เล่มหนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์
  37. อพฺภูตธมฺม : (ปุ.) ธรรมน่าอัศจรรย์, อัพภูตธรรม(พระพุทธพจน์อันประกอบแล้วในธรรมไม่เคยเป็นเป็นแล้ว)ชื่อองฺค์ที่๘ของนวังค-สัตถุสาสน์.
  38. อภิวิสฺสตฺถ : กิต. ไว้วางใจแล้ว, คุ้นเคยแล้ว
  39. อภูตปุพฺพ : (วิ.) ไม่เคยเป็นแล้ว, ไม่เคยมีแล้วไม่เคยเกิดแล้ว.
  40. อมตฏฺฐาน : (นปุ.) ที่อัน...ไม่เคยตายแล้ว, ที่อันสัตว์ไม่เคยตายแล้ว, ที่แห่งสัตว์ไม่ตาย, ที่ที่สัตว์ไม่ตาย.
  41. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  42. อลทฺธปุพฺพ : (วิ.) อันไม่ได้แล้วในก่อน, อัน.....ไม่เคยได้แล้ว.
  43. อวิชาต : ค. ไม่ได้คลอด, ไม่เคยมีลูก
  44. อวิสฺสตฺถ : ค. ไม่คุ้นเคย, ไม่น่าไว้ใจ ; ไม่พอใจ
  45. อสนฺถุต : ค. ไม่คุ้นเคย, ไม่เชยชิด
  46. อสสริตปุพฺพ : ค. ไม่เคยท่องเที่ยวไป, ไม่เคยบังเกิดมาก่อน
  47. อาคตปุพฺพ : (วิ.) มาแล้วในก่อน, มาแล้วในกาลก่อน, เคยมาแล้ว.
  48. อเวภงฺคิก, - คิย : ๑. นป. ของที่ไม่ควรแบ่งแจก ; ๒. ค. ซึ่งไม่ควรแบ่งแจก
  49. อาลิงฺคย : นป. กลองเล็ก
  50. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  51. [1-50]

(0.0175 sec)