ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
กญฺจุก : (ปุ.) ผ้า, ผ้าโพกหัว, หมวก, เสื้อ, เสื้อกั๊ก, เกราะ, หีบ, ซอง, ฝักมีด, เครื่อง ปกคลุม, คราบงู. กจฺ พนฺธเน, อุโก, นิคฺคหิตาคโม.
จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
อฏฺฐรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องลาด, เครื่อง ลาดทำด้วยขนสัตว์ (สำหรับปูพื้น), เครื่องลาด, เครื่องปู. อาปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, ยุ, รสฺโส, ถสฺส โฐ, ฏฺสํโยโค.
อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
ทินจฺจย : (ปุ.) เย็น (เวลา..), เวลาเย็น, เวลา ใกล้ค่ำ, วิ. ทินานํ อจฺจโย อติกฺกโม อวสานํ วา ทินจฺจโย.
สญฺฌา : อิต. เย็น (เวลา)
สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
สาย : (อัพ. นิบาต) เย็น. สยตฺถนิปาต. ในเวลาเย็น, กาลสตฺตมิยตฺถนิปาต. ส. สายํ.
สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
สีต สีตล : (วิ.) หนาว, เย็น. ส. ศีต. ศีตล.
อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
กฏฐิสฺส : นป. ผ้าไหมที่ถักด้วยรัตนะ, เครื่องลาดด้วยแถบไหมติดด้วยรัตนะ
กฏฺฐิสฺ ส : (นปุ.) กัฏฐิสสะ ชื่อเครื่องลาดแกม ไหมด้วย ติดรตนะด้วย. โกสิยสุตฺตกฏฺฐิสฺ สวาเกหิ ปกตํ อตฺถรณํ กฏฺฐิสฺสํ. กฐ ล ปุ.) ก้อนกรวด, กระเบื้อง. กฐิ. โสเก, อโล. ลูกนิ่ว. กฐฺ กิจฺฉชิ่วเน, อโล.
กฏิสุตฺตก : (นปุ.) เครื่องประดับเอว, สายรัด เอว.
กฏุกภณฺฑ : นป. เครื่องเทศ
กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
กณฺฐภูสา : อิต. ผ้าพันคอ, เครื่องประดับคอ
กณฺฐ ภูสา : (อิต.) เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ประคำคอ. ส. กณฺฐภูษา.
กณฺฐสุตฺตก : ป. เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ
กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
กณฺณปูร : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณภูสา : (อิต.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณเวฐน : นป. เครื่องประดับหู, ตุ้มหู
กณฺณสนฺโธวิก : ป. การล้างหู, การทำความสะอาดหู
กณฺณิก : ป., กณฺณิกา อิต. คนถือท้าย; เครื่องประดับหู, ช่อฟ้า; ยอด; ฝักบัว
กตโยคฺค : ค. ผู้ทำความขวนขวายแล้ว
กตาคส : ค. ผู้ทำความชั่ว
กตาภินิหาร : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นเครื่องนำออก ซึ่งคุณอันยิ่งอันทำแล้ว, ผู้มีอภินิหาร อัน ทำแล้ว, ผู้มีกฤษฎาภินิหาร, ผู้มี กฤดาภินิหาร.
กถกถา : อิต. วาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอะไร, ความสงสัย
กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
กถกถี : (วิ.) ผู้มีวาจาเป็นเครื่องกล่าวว่าอันว่า อะไร, ฯลฯ.
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กทกี : อิต. เครื่องป้องกันฝน, เครื่องป้องกันน้ำ
กปฺปน : (ปุ.) เครื่องแต่งช้าง. กปฺปฺ สาม ตฺถิยสชฺชเนสุ, ยุ.
กมฺพุสฺส : นป. เครื่องประดับทำด้วยทอง
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
กมฺมกรณา : อิต. กรรมกรณ์, การลงโทษทางกาย, เครื่องทรมานทางกาย