อีริต : (วิ.) ขว้าง. ซัด, โยน, พรุ่ง, ยิง, ไหว, เคลื่อนไหว, สั่น. อีรฺ คติกมฺปนเขเปสุ อิโต, โต วา.
เคป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
อีรณ : (วิ.) ขว้าง, ซัด, โยน, เคลื่อนไหว. อีรฺ เขปเน, ยุ.
อิญฺชติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, ลุกชัน (ขน)
อีรติ : ก. เคลื่อนไหว, สั่น, โยกคลอน
กมฺปน : นป., กมฺปา อิต. การไหว, ความเคลื่อนไหว
จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
จลิต : ค., นป. ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งสั่น, ซึ่งคลอนแคลน, การเคลื่อนไหว, การหวั่นไหว
จาเลติ : ก. ทำให้ไหว, ทำให้เคลื่อนไหว, ให้หวั่นไหว, ร่อน
ชงฺคมติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา
ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
ถาวร : (วิ.) ตั้งอยู่, ตั้งมั่น, มั่นคง, คงที่, ยั่งยืน, ไม่เคลื่อนไหว. ถา คตินิวฺติยํ, วโร.
นิริญฺชน : ค. อันไม่เคลื่อนไหว, อันไม่หวั่นไหว, คงทน, คงที่
ปิลวติ, (ปฺลวติ) : ก. ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, เคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว, ลอยไป
พุทฺธลีลา : อิต. ความสง่างามในการเคลื่อนไหวของพระพุทธเจ้า
อสมฺปกมฺปิ, - ปิย : ค. ไม่ถูกทำให้หวั่นไหว, ไม่ถูกทำให้เคลื่อนไหว
อาลุฬติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ขุ่นข้อง, วุ่นวาย
อิงฺค : (ปุ.) อาการ, ท่าทาง, ความเคลื่อนไหว, ความอัศจรรย์, ความรู้. อิงฺคฺคติยํ, อ.ส.อิงฺคฺ.
อิริยา : (อิต.) ความเป็นไป, ฯลฯ. ความเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. อิริยฺ ธาตุ อ ปัจ. ส. อีรฺยา.
อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
อิริยา, อิริยนา : อิต. อาการเคลื่อนไหวของร่างกาย, กิริยาท่าทาง
เอชติ : ก. ถูกทำให้เคลื่อนไหว