ปฏิกุฏฺฐิต, - กุณฺฐิต : ค. ซึ่งถูกห่อหุ้ม, ซึ่งถูกคลุกเคล้า, ซึ่งถูกเกลือกกลั้ว
มนฺถน : (วิ.) คน, กวน, ทำให้คลุกเคล้ากัน.
มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
สงฺกร : ป. การแทรกซึม, การเคล้ากัน, ความปะปน
สมฺมิสฺส : (วิ.) เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, รวมกัน, ผสม, ผสมกัน, ระคน, คลุกเคล้า. สํปุพฺโพ, มิสฺ มิสฺเส, อ. แปลง ส เป็น สฺส.
อวฺยาเสก : ค. ไม่ระคน, ไม่คลุกเคล้า ; บริสุทธิ์
อาลิงฺคณ อาลิงฺคน : (นปุ.) การสวมกอด, การเคล้าคลึง, การอิงแอบ, ความสวมกอด, ฯลฯ. วิ. อาลิงฺคียเตติ อาลิงฺคณํ อาลิงคนํ วา. อาปุพฺโพ, ลิงฺคฺ คมเน, ยุ. ส. อาลิงฺคน.
อาลิงฺคติ : ก. สวมกอด, กอดรัด, เคล้าคลึง
อาลิงฺคน : นป. การสวมกอด, การเคล้าคลึง
อาลิงฺคิย : กิต. สวมกอด, เคล้าคลึง
คุลา : อิต. ฝี, เม็ดผื่น
ยุคนงฺคลาทิ : (วิ.) (อุปกรณ) มีแอกและไถ เป็นต้น.
ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.