ปฏิปูเชติ : ก. บูชาตอบ, เคารพนับถือ, ยกย่อง
ครุกโรติ : ก. เคารพ, นับถือ, ยกย่อง
ปฏิมาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, รับใช้, รอคอย
มาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, บูชา
อจฺเจติ : ก. ๑ ล่วงไป, ผ่านไป, เคารพ
๒. บูชา, นับถือ
อปจายติ : ก. เคารพ, ยำเกรง, นับถือ
อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
ครุกาตพฺพ : ค. ซึ่งควรแก่การยกย่อง, ซึ่งควรแก่การเคารพนับถือ
ครุฏฐานิย : ค. ผู้ตั้งอยู่ในตำแหน่งครู, ผู้ควรแก่การเคารพนับถือและยกย่อง
จิตฺติการ, - ตีการ : ป. การทำความยำเกรง, การเคารพนับถือ, การยกย่อง, การให้เกียรติ
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
ฐกฺกุร : (วิ.) ควรเคารพ, น่าเคารพ. ส. ฐกฺกุร ว่าเทพเจ้าที่นับถือ.
นิปจฺจการ : ป. ความถ่อมตัว, ความเคารพ, ความเชื่อฟัง, ความสุภาพ, ความนับถือ, ความช่วยเหลือ
ปฏิปูชน : นป., - ชนา อิต. การบูชาตอบ, ความเคารพนับถือ, การยกย่อง
ปฏิมานิต : กิต. (อันเขา) นับถือแล้ว, เคารพแล้ว
ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
ปุชฺช : ค. น่าเคารพ, น่านับถือ, น่าบูชา
พหุมต : ค. ซึ่งมีผู้นับถือมาก, คนเคารพมาก
พหุมาน : ป., พหุมานน นป. ความเคารพนับถือมาก
พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
มนห : (นปุ.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ, การฉลอง, การสมโภช, มหรสพ (ฉลองสมโภช). มหฺ ปูชายํ, อ, ยุ.
มานน : (นปุ.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
มานนา : (อิต.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
สกฺการ : ป. การเคารพนับถือ, เครื่องบูชา
สมฺมาน : (ปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
สมฺมานน : (นปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
สมฺมานนา : (อิต.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
อปจายก, อปจายิก, อปจายี : ค. ผู้นอบน้อม, ผู้เคารพนับถือ
อปาจายน : นป. อปจายนา, อิต. การเคารพบูชา,การนับถือ
อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
อมตฺเตยฺย, อเมตฺเตยฺย : ค. ผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
อุปทา อุปาทา : (อิต.) ของกำนัลที่ส่งไปให้, ของฝาก, บรรณาการ. (ของที่ส่งไปให้ด้วย ความเคารพนับถือ หรือด้วยไมตรี). วิ. อุปคนฺตฺวา ทาตพฺพโต อุปทา. อุปคนฺตฺวา- ปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. อุปทา.
อุปหาร : (ปุ.) การนำไปใกล้, การเคารพ, การนับถือ, การบูชา, เครื่องบูชา, อภิหาร (การนำไปเฉพาะคือการบูชา). อุปปุพฺโพ, หรฺ หรเณ ปูชายญฺจ, โณ. ส. อุปหาร.
นมสฺสติ : ก. นมัสการ, เคารพ, ไหว้
ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
อภิวนฺทติ : กิต. ไหว้, เคารพ, อภิวันท์
อภิสทฺทหติ : ก. เชื่อมั่น, เชื่อถือ, เลื่อมใส, นับถือ
อุปติฏฐติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู, เคารพ
นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
สกฺกโรติ : ก. เคารพ
อรห : (วิ.) ควร, สมควร, บูชา, เคราพ, นับถือ.อรหฺปูชายํ, อ.ส.อรฺห.
ครุการ : ป. การเคารพ, การยกย่อง
ครุตฺต : นป., ครุตฺตา อิต. ความเป็นครู, ความเป็นผู้ควรเคารพ, ความเป็นผู้หนัก, ความเป็นของหนัก
ครุธมฺม : (ปุ.) ธรรมที่ควรเคารพ, ครุธรรม ธรรมหรือสิกขาบท ที่ล่วงละเมิดมิได้.
จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
ฐกฺกุร : นป. สิ่งที่ควรเคารพ, รูปที่ควรเคารพ
ติ ตฺ ถ : (ปุ.) คนที่ควรเคารพ ( มีอาจารย์ เป็นต้น).