สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
ธุรคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ๆ, บ้านใกล้เรือนเคียง
ธุรวิหาร : ป. วิหารที่ใกล้เคียง, วัดที่ใกล้เคียง
นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ;
๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง,
๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
ปฏิภาคนิมิตฺต : นป. ปฏิภาคนิมิต, นิมิตเทียบเคียง
ปริชน : (ปุ.) ชนผู้แวดล้อม, ชนผู้ข้างเคียง, ชนผู้เป็นบริวาร, ชนข้างเคียง, ชนผู้เป็น บริวาร. ปริวาร+ชน ลบ วาร.
ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
ปริสร : ป., นป. บ้านใกล้เรือนเคียง, ดินแดนติดต่อกัน
สนฺนิกฏฺฐ : ป. เพื่อนบ้านใกล้เรือนเคียง
สนฺนิธาน : (นปุ.) การนับเนื่อง, การใกล้เคียง, การสะสม, การสั่งสม, ความนับเนื่อง, ฯลฯ. สํ นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. สนฺนิธาน.
สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
สมานฺต : ค. รอบ ๆ , ใกล้เคียง
สมีป : (วิ.) ใกล้, ใกล้เคียง. วิ. สํคโต อาโป ยสฺมึ ตํ สมีปํ, ลบ คน แปลงนิคคหิต เป็น ม อา เป็น อี.
สสนฺทนา : อิต. การเทียบเคียงกัน
สามนฺต : (นปุ.) ที่ใกล้, ที่ใกล้เคียง.
อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
อสามนฺต : ค. ไม่ใกล้เคียง, ไม่มีใครทัดเทียม, สามารถยิ่ง
อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
อุปนิธา : อิต. การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง
อุปนิธาย : อ. อย่างเทียบเคียง
อุปนิปชฺชติ : ก. เข้าไปนอนอยู่ใกล้ๆ , นอนข้างเคียง
อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
โอทกนฺติก : ๑. นป. สถานที่ใกล้น้ำ, ที่ใกล้เคียง;
๒. ค. ผู้ชำระกรรมชั่วโดยมีน้ำเป็นที่สุด, ผู้อาบน้ำล้างบาป